Recent Submissions

  • Thumbnail

    ประสานงานจัดการความรู้งานวิจัยภายใต้กรอบสังคมคุณภาพและความมั่นคงเพื่อการใช้ประโยชน์ในเชิงนโยบาย 

    ภาคภูมิ ทิพคุณ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565-08-27)

    โครงการประสานงานจัดการความรู้งานวิจัยภายใต้กรอบสังคมคุณภาพและความมั่นคงเพื่อการใช้ประโยชน์ในเชิงนโยบายมีวัตถุประสงค์และภารกิจกิจที่สำคัญ 2 ประการคือ 1. ประสานงานสนับสนุนทุนวิจัยตามความต้องการของฝ่ายนิติบัญญัติ (สภาผู้แทนราษฎร/วุฒิสภา) และฝ่ายบริหารราชการแผ่นดิน (กระทรวง/กรม) และ 2. จัดการความรู้จากงานวิจัยในกรอบสังคมคุณภาพและความมั่นคง พร้อมทั้งจัดทำเอกสารความรู้เพื่อสนับสนุนการใช้ประโยชน์ในเชิงนโยบาย โดยมีกรอบระยะเวลาการดำเนินงานระหว่าง 1 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 เมษายน 2565 ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากโครงการนี้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในสัญญาโครงการ ซึ่งประกอ...
  • type-icon

    พัฒนาโครงสร้างคณะกรรมการบริหารสภาวัฒนธรรมด้วยพลังการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในพื้นที่ ตามพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2553 

    รณรงค์ จันใด (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-01-05)

    โครงการพัฒนาโครงสร้างคณะกรรมการบริหารสภาวัฒนธรรม ด้วยพลังการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในพื้นที่ ตามพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2553 มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างตัวอย่างสภาวัฒนธรรมและข้อเสนอเชิงนโยบายและการนำไปสู่การปฏิบัติในการพัฒนาหรือปรับปรุงการดำเนินงานของสภาวัฒนธรรมจังหวัด และพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาโครงสร้างคณะกรรมการบริหารสภาวัฒนธรรม ด้วยพลังการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในพื้นที่ ตามพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2553 รวมทั้งการประเมินการรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานของสภาวัฒนธรรม และการนำนโยบายไปขับเคลื่อนในพื้นที่ รวมถึงปัจจัยที่...
  • type-icon

    แผนแม่บทการประชาสัมพันธ์ของกระทรวงคมนาคม พ.ศ.2562-2565 

    ศุภชัย ศรีสุชาติ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-02)

    เพื่อให้กระทรวงคมนาคมดำเนินการจัดทำแผนการประชาสัมพันธ์กับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงคมนาคมอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปใช้ในการวางแผนและขับเคลื่อนการประชาสัมพันธ์ให้สอดคล้องกันอย่างเป็นเอกภาพ ดังนั้นแล้ว สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม จึงได้ดำเนินโครงการจัดทำแผนแม่บทการประชาสัมพันธ์ของกระทรวงคมนาคม ประจำปี 2562 เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับความคาดหวังและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงอัตราความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อการดำเนินงานของกระทรวงคมนาคม อันนำไปสู่แนวทางการพัฒนาและยกระดับการประชาสัมพันธ์ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมถึงมีความเหมาะสมกั...
  • type-icon

    ส่งเสริมความสามารถทางนวัตกรรม สำหรับกลุ่มผู้นำภาครัฐและเอกชน (DRIVE CONNECT) รุ่นที่ 1 

    ทวิดา กมลเวชช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-26)

    จากการสำรวจและทบทวนองค์ประกอบของหลักสูตรฝึกอบรม ที่มีทั้งเนื้อหาในความพยายามสร้างเครือข่าย และในเนื้อหามุ่งเน้นเฉพาะนวัตกรรม จะพบความคล้ายคลึงกันในมิติของการพยายามที่จะสอนทักษะและเทคนิคของการสร้าง คือสร้างเครือข่ายและสร้างนวัตกรรม ซึ่งในลักษณะนี้นั้น เรากลับไม่พบในหลักสูตรการฝึกอบรมเครือข่ายนวัตกรรม กล่าวคือ การฝึกอบรมเครือข่ายนวัตกรรม มักจะเน้นเรื่องการคิด ทักษะการแปลงความคิด การสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยี การสร้างสิ่งใหม่ๆในการผลิต มากกว่าการเน้นทักษะเครือข่าย โดยคาดหวังให้การฝึกอบรมร่วมกันผ่านกิจกรรมต่างๆนั้น เป็นสิ่งที่สร้างเครือข่ายขึ้นได้เ...
  • type-icon

    การลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความเป็นธรรม 

    วรรณวิภางค์ มานะโชติพงษ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-15)

    เข้าถึงข้อมูลได้ที่ http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/1037
  • type-icon

    การลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความเป็นธรรม : กรณีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 

    ธร ปีติดล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-26)

    สามารถเชื่อมโยงข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของสถาบันพระปกเกล้า http://kpi.ac.th/knorledge/research/data/1001
  • type-icon

    วิจัยเพื่อความมั่นคงใหม่ 

    กิตติ ประเสริฐสุข (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-26)

    สามารถเชื่อมโยงข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของสถาบันพระปกเกล้า http://kpi.ac.th/knorledge/research/data/1000
  • type-icon

    การสร้างตัวแบบผู้นำที่ทรงธรรมปัญญา โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาประชาธิปไตยอย่างยั่งยืน สถาบันพระปกเกล้า 

    ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562)

    เข้าถึงข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ของสถาบัน http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/372
  • type-icon

    พัฒนาปัญญาประดิษฐ์สำหรับการค้นหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

    นพพร ลีปรีชานนท์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562)

    เข้าถึงข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ของสถาบัน http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/374
  • type-icon

    ขับเคลื่อนการจัดตั้งศูนย์ประสานงานการเสริมสร้างความสามัคคีปรองดองและความสมานฉันท์ 

    พ.ต.ต. ดร.ชวนัสถ์ เจนการ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

    การจัดตั้งศูนย์ประสานงานการเสริมสร้างความสามัคคีปรองดองและlมานฉันท์เป็นโครงการของกระทรวงยุติธรรมโดยสำนักงานคณะกรรมการเสริมสร้างความสมานฉันท์แห่งชาติซึ่งเป็นการขับเคลื่อนนโยบายการสร้างความสามัคคีปรองดองและความสมานฉันท์ตามกรอบยุทธศาสตร์20 ปี กระทรวงยุติธรรม ที่กำหนดให้มีหน่วยงานประสานงานระดับพื้นที่กับส่วนกลางเป็นศูนย์ประสานงานในการประสานความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในพื้นที่ต่างๆ และส่งเสริมกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์และสันติ วัฒนธรรม การศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้ทดลองวางระบบในการจัดการความขัดแย้งให้กับสำนักงานคณะกรรมการเสริมสร้างความสมานฉ...
  • type-icon

    ร่างยุทธศาสตร์การพัฒนาสตรี พ.ศ.2560-2564 

    ภาคภูมิ ฤกขะเมธ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

    สตรีมีจำนวนและสัดส่วนมากกว่าครึ่งของประชากรในประเทศไทย และเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศ การศึกษาความก้าวหน้าในการพัฒนาสตรีของไทยนี้ จึงเป็นโครงการวิจัยเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับสถานภาพของสตรีล่าสุด ติดตามความก้าวหน้าในการเข้ามามีส่วนร่วมของสตรีในกิจกรรมการพัฒนามิติต่างๆ เข้าใจและรับทราบถึงประเด็นปัญหาสําคัญๆ ซึ่งนําไปสู่การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาสตรีในภาพรวมเพื่อประกอบการจัดทําแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสตรีห้าปี ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ผลการศึกษาพบว่า ประเทศไทยมีความก้าวหน้าในพัฒนาสต...
  • type-icon

    สำรวจความพึงพอใจของลูกค้าการประปาส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2561 

    อนันต์ ภาวสุทธิไพศิฐ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

    โครงการสำรวจความพึงพอใจของลูกค้าการประปาส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ 2561 เป็นโครงการศึกษาเพื่อรับฟังความคิดเห็นและสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าปัจจุบันและกลุ่มประชาชนที่คาดว่าน่าจะเป็นลูกค้า กปภ. ในอนาคต โดยมีประเด็นสำรวจ คือ ความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ ความต้องการ ความคาดหวัง รวมถึงความภักดี ทัศนคติของลูกค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ การบริการ ภาพลักษณ์และความรับผิดชอบสังคมของ กปภ. พบว่า ลูกค้าให้คะแนนความพึงพอใจในภาพรวมแก่ กปภ. ที่ระดับ 4.048 คะแนน (หรือร้อยละ 80.96) โดยสิ่งที่สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้ามากที่สุดได้แก่ 1. ด้านการชำระค่าบริการและกระบวนการ...
  • type-icon

    ทดแทนตำแหน่ง ปี 2558 

    สมบูรณ์ กุลวิเศษชนะ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

    การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) จัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบริหารจัดการบุคลากรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดทำเกณฑ์ในการสรรหาบุคลากรคุณภาพ (Talent) ซึ่งประกอบด้วยคุณสมบัติสำหรับบุคคลคุณภาพ (Talent) กระบวนการในคัดเลือกและสรรหาบุคลากรคุณภาพที่จำเป็นในทุกตำแหน่งงานตามแต่ละหน่วยงานภายในองค์กรอย่างเหมาะสม พร้อมทั้งจัดทำแนวทางการจัดทำแผนการพัฒนารายบุคคล (IDP) และแผนสับเปลี่ยนหมุนเวียนงานเพื่อสร้างประสบการณ์ การประเมินและติดตามผลการบริหารจัดการ
  • type-icon

    การปรับปรุงโครงสร้างและระบบบริหารงานจังหวัดให้มีศักยภาพสูงเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศในอนาคต (Thailand 4.0) 

    วสันต์ เหลืองประภัสร์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

    การวิจัยภายใต้โครงการการปรับปรุงโครงสร้างและระบบบริหารงานจังหวัดให้มีศักยภาพสูงเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศในอนาคต (Thailand 4.0) มีวัตถุประสงค์การศึกษาเพื่อศึกษาและปรับปรุงการกำหนดโครงสร้างและรูปแบบการบริหารงานของหน่วยงานของกระทรวง กรม ที่ไปตั้งอยู่ในภูมิภาคให้เหมาะสมกับบริบทแต่ละพื้นที่ อีกทั้งเพื่อศึกษาและปรับปรุงการกำหนดโครงสร้างและรูปแบบการบริหารงานของสำนักงานจังหวัดและสำนักงานอำเภอให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและมีขีดสมรรถนะในการจัดทำภารกิจตามอำนาจหน้าที่ เช่น การแปลงยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับชาติไปเป็นยุทธศา...
  • Thumbnail

    ศึกษารูปแบบพฤติกรรมการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐเพื่อจัดทำมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ประจำปี พ.ศ. 2554 

    โกวิทย์ พวงงาม (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2011)
  • type-icon

    การสร้างระบบและแนวทางการดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายภายใต้ระบบนิเวศนวัตกรรมแห่งชาติ 

    สุนิสา ช่อแก้ว (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

    การเร่งสร้างเครือข่ายนวัตกรรมเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ที่สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ดำเนินการเพื่อให้ตอบโจทย์การมีนวัตกรรมเพื่อเพิ่มคุณค่าที่ยั่งยืนให้กับสังคมไทย ด้วยความสำคัญดังกล่าวจึงเป็นที่มาของการศึกษา “การสร้างระบบและแนวทางการดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายภายใต้ระบบนิเวศนวัตกรรมแห่งชาติ” ภายใต้กรอบการดำเนินงาน 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนแรก พัฒนาตัวแบบ ขั้นตอนที่สอง วางแนวทางและรูปแบบการดำเนินงาน ขั้นตอนที่สาม ออกแบบเครื่องมือการประเมิน และขั้นตอนที่สี่ จัดทำโครงการนำร่อง จากผลลัพธ์ในการดำเนินโครงการ พบว่า (1) ตัวแบบระบบในการพัฒนาเครือข่า...
  • Thumbnail

    สำรวจความพึงพอใจและความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน กนอ. (Engagement Survey) ประจำปี 2560 

    โมไนยพล รณเวช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)
  • type-icon

    Social Innovation Driving unit เฉพาะด้าน 

    วีรบูรณ์ วิสารทสกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

    โครงการ Social Innovation Driving Unit ซึ่งสนับสนุนงบประมาณโดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ มีระยะเวลาโครงการตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ – 30 กันยายน 2561 รวมระยะเวลา 7 เดือน 16 วัน โดยมีเป้าหมายที่สนับสนุนและบ่มเพาะผู้สนใจในการแก้ไขปัญหาสังคม สิ่งแวดล้อม ให้สามารถต่อยอดแนวคิดและ/หรือพัฒนาตัวนวัตกรรมให้ยกระดับในเชิงธุรกิจเพื่อสังคม โดยผ่านการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการและการให้คำแนะนำ จากการดำเนินการพบว่า กระบวนการบ่มเพาะที่ดีและเหมาะสมสำหรับโครงการนวัตกรรมทางสังคมนั้น จำเป็นต้อง 1) มีระยะเวลาการบ่มเพาะที่นานพอที่จะให้กิจการได้มีโอกาสทดลองความคิดและตลาด เพื่อ...
  • type-icon

    จ้างเหมาบริการผู้เชี่ยวชาญทบทวนแผนที่นำทาง (Roadmap) การขับเคลื่อนเป้าหมายที่ 16 

    เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

    เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 16 ให้ความสำคัญกับการพัฒนากระบวนการยุติธรรม เพื่อให้สามารถอำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชนในประเทศได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม นอกจากนี้แล้ว เป้าหมายที่ 16 ยังสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 และแผนแม่บทกระบวนการยุติธรรมฉบับที่ 3 อย่างไรก็ตาม การจะดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายเหล่านี้ไปพร้อมกัน จำเป็นจะต้องมีแผนที่นำทาง (Road Map) ที่สามารถบูรณาการเป้าหมายของทุกนโยบายให้ไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้เกิดเอกภาพในการทำงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งยังช่วยให้เกิดประสิทธิภ...
  • type-icon

    ศึกษาแนวทางการพัฒนาและบริหารทรัพยากรบุคคลกรมทางหลวงชนบท 

    พรพิมล จงไพศาล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

    ภายใต้บริบทการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน และยุทธศาสตร์ตามกรอบนโยบายของรัฐบาลภายใต้แนวคิด “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ส่งผลให้กรมทางหลวงชนบทต้องมีการปรับบทบาทและภารกิจองค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว นอกจากนั้น กรมฯ ยังมีอัตรากำลังบุคลากรไม่สอดคล้องกับปริมาณงานจำนวนมาก ทำให้การปฏิบัติงานไม่อาจตอบสนองต่อการให้บริการงานทางของประเทศ ส่งผลให้งานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย กรมทางหลวงชนบท โดยกองแผนงาน จึงได้มีการดำเนินโครงการจัดทำแผนอัตรากำลังของบุคลากรกรมทางหลวงชนบท เพื่อประเมินกำลังคนที่คาดว่าจะต้องการในอนาคตกับกำลังคนที่มีอยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งได้มีการพัฒ...
  • View more