ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
by แก้วตา โรหิตรัตนะ
ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม | |
Monitoring and Evaluation of Department of Industrial Promotion Project (Budget year 2018) | |
แก้วตา โรหิตรัตนะ | |
2563-02-13 | |
สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
โครงการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2560 ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม แบ่งการดำเนินงานออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนติดตามและส่วนประเมินผลโครงการตามกรอบ Logic Model โดยติดตามโครงการของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จำนวน 54 โครงการ ดำเนินงานออกเป็น 2ส่วน คือ การติดตามและประเมินผลโครงการ โดยแบ่งประเภทโครงการตามลักษณะการดำเนินงานของแต่ละโครงการที่แตกต่างกัน 6 ประเภท คือ (1) โครงการประเภทให้คำแนะนำเชิงลึก (2) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์/นวัตกรรม (3) โครงการฝึกอบรมให้ความรู้ (4) โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่าย (5) โครงการประเภทกิจกรรมพิเศษ และ (6) การประเมินความอยู่รอดในการประกอบการของผู้ประกอบการเริ่มต้นธุรกิจ จากการติดตามและประเมินผลพบว่า โครงการส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจตั้งแต่ร้อยละ 85 ขึ้นไป และบรรลุผลตามตัวชี้วัดโครงการที่ตั้งไว้ได้อย่างครบถ้วน ทั้งนี้ยังพบว่าผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นร้อยละ 90 ของโครงการ มีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจจากการหามูลค่าปัจจุบันของผลประโยชน์สุทธิที่มากกว่าศูนย์และอัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุนที่ลงทุน 1 บาท ได้ตอบแทนความคุ้มค่าคือมากกว่า The Monitoring and Evaluation of Projects of Department of Industrial Promotion (DIP) in 2018 fiscal year aimed to monitor and evaluate 54 DIP’s projects based on the Logic Model framework. Six types of project included (1) Consulting project (2) New Product Development project (3) Knowledge training project (4) Networking project (5) Event marketing project and (6) New Entrepreneur Creation. All projects were monitored during February to July 2018. Then, they were evaluated by quantity and quality of their outputs according to the commitment at the beginning of the projects. The results of project indicated that 85 % of the projects were in satisfactory levels. Almost all projects achieved their set indicators. Moreover, the Net Present Value of all evaluated projects were greater than 0 which indicates the worth of the projects implemented by DIP. Furthermore, the Benefit Cost Ratio (BCR) showed the result that 90% of the project had BCR value greater than 1 which means they were worth to invest. |
|
ติดตามและประเมินผล
Logic Model |
|
รายงานวิจัย | |
Text | |
application/pdf | |
tha | |
เอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยผู้ให้ทุน ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร | |
บุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงเอกสารนี้ได้ | |
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม | |
https://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/714 |
Files in this item (CONTENT) |
|
View no fulltext.doc ( 21.50 KB ) |
This item appears in the following Collection(s) |
|
Collections
|