Browsing โครงการที่ปรึกษา by Title
Now showing items 1-15 of 15
-
กฎหมายเกี่ยวกับการกำหนดให้รัฐเข้าถึง หรือได้มาซึ่งข้อมูลที่บุคคลสื่อสารถึงกัน :กรณีศึกษาต่างประเทศภายใต้โครงการศึกษาร่างกฎหมายที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ ตามหัวข้อ การให้รัฐเข้าถึงและได้มาซึ่งข้อมูลที่บุคคลสื่อสารถึงกันในสาธารณรัฐฝรั่งเศส
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562)
เข้าถึงข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ของสถาบัน http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/203 -
การพิจารณาวินิจฉัยคดีของศาลรัฐธรรมนูญ ตามบทบัญญัติมาตรา 144 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-08-13)
มาตรา 144 ของรัฐธรรมนญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้กำหนดห้ามมิให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแปรญัตติเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขเพิ่มเติมรายการหรือจำนวนในรายการ ในร่างกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย และห้ามมิให้มีการเสนอการแปรญัตติหรือการกระทำด้วยประการใด ๆ ที่มีผลให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือกรรมาธิการวิสามัญที่พิจารณาร่างกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่ายมีส่วนไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในการใช้งบประมาณรายจ่าย รวมทั้งได้กำหนดมาตรการในการลงโทษผู้ฝ่าฝืนบทบัญญัติ และมาตรการในการเยียวยาความเสียหายแก่รัฐไว้ด้วย โดยให้ศาลรัฐธรรมนูญเป็นผู้พิจารณาวิน ... -
ขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กิจกรรมที่ 2 การศึกษาความเหมาะสมการตรากฎหมายรองรับกลไกขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชน
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565-07-04)
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์สองประการคือ ประการแรก เพื่อให้การดำเนินงานของฝ่ายบริหารมีกฎหมายมารองรับมาตรการ กลไก หรือเครื่องมือต่าง ๆ ในด้านสิทธิมนุษยชนในภาพรวมของประเทศ และเพื่อให้มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีกรอบแนวทางการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนที่เป็นรูปธรรม มีการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกันและมีความยั่งยืน วิธีการศึกษา (1) ศึกษาวิจัยเอกสาร ตำรา กฎหมายของไทยและต่างประเทศ 5 ประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย สวีเดน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (2) รับฟังความคิดเห็นผู้ที่เกี่ยวข้องในร่างกฎหมาย และข้อเสนอกลไกในการดำเนินงาน ในแต่ละภาค ... -
ขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกิจกรรมที่ 4 การศึกษาความเหมาะสมในการตรากฎหมายรองรับกลไกการขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติระยะที่ 2
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565-07-04)
โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ สองประการ คือ ยกร่างพระราชบัญญัติสิทธิมนุษยชน พ.ศ. .... พร้อมด้วยร่างอนุบัญญัติ โดยดำเนินการรับฟังความคิดเห็นตามแนวทางของสอดคล้องตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และพระราชบัญญัติจัดทำร่างกฎหมายและประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 ประการที่สอง กำหนดมาตรการ กลไก หรือเครื่องมือต่าง ๆ ด้านสิทธิมนุษยชนในภาพรวมของประเทศ และสามารถการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นรูปธรรม มีการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกันได้อย่างยั่งยืน วิธีการศึกษา สัมภาษณ์ผู้บริหารกระทรวงยุติธรรม และนำข้อเสนอแนะม ... -
จัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย Product Safety ประจำปีงบประมาณ 2556
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)
จากข่าวสารที่ปรากฏในสื่อต่าง ๆ ในปัจจุบัน จะเห็นได้ว่ามีสินค้าจำนวนมากที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้บริโภค ไม่ว่าจะเป็นความเสียหายต่อสุขภาพ อนามัย ชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สิน สินค้าที่เป็นต้นเหตุจำนวนหนึ่งเป็นสินค้านำเข้าจากประเทศคู่ค้าของไทยบางราย แม้พระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่ได้แก้ไขเพิ่มเติมเรื่อยมาจะได้บัญญัติว่า ผู้บริโภคมีสิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้า แต่กฎหมายที่เกี่ยวข้องก็เป็นกฎหมายที่เน้นการกำกับดูแลสินค้าเฉพาะอย่าง เช่น กฎหมายอาหาร กฎหมายยา และกฎหมายเครื่องสำอาง เป็นต้น ซึ่งกฎหมายเหล่านี้ นอกจากจะเป ... -
จัดทำกรอบการดำเนินการด้าน GMBM และร่างกฎหมายสิ่งแวดล้อมการบิน
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-10-05)
รายงานเรื่อง “โครงการจัดทำกรอบการดำเนินการด้าน GLOBAL MARKET- BASED MEASURE (GMBM) และกรอบแนวคิดเกี่ยวกับกฎหมายไทยว่าด้วยสิ่งแวดล้อมการบินพลเรือน” เป็นการศึกษาวิจัยเพื่อตอบสนองความต้องการของสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (Civil Aviation Authority of Thailand : CAAT) ซึ่งมีหน้าที่ปฏิบัติให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) ที่เรียกว่า โครงการ Global Market Based Measure (GMBM) และซึ่งมีโครงการย่อยที่เรียกว่า โครงการ Carbon Offsetting and Reduction Scheme for International Aviation : CORSIA) มีผลบังคับใช้ในปี ... -
จัดหมวดหมู่อาชญากรรมในกฎหมายไทยเข้ากับหมวดหมู่ ตามมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการจำแนกประเภทอาชญากรรม เพื่อประโยชน์ทางสถิติ ระยะที่ 1
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-03-20)
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์สองประการ คือ ประการแรก จัดหมวดหมู่อาชญากรรมในประมวลกฎหมายอาญาและพระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญาของไทย ให้เข้ากับหมวดหมู่ ๐๑ ความผิดเกี่ยวกับชีวิต และหมวดหมู่ ๐๓ ความผิดเกี่ยวกับเพศ ของตามมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการจำแนกประเภทอาชญากรรมเพื่อประโยชน์ทางสถิติ( ICCS version 1.0) ประการที่สอง หาแนวทางที่มีประสิทธิภาพและแนวทางการแก้ไขปัญหาหากมี ในการจัดทำหมวดอื่นที่เหลือของมาตรฐานระหว่างประเทศ วิธีการศึกษา (๑) ศึกษาวิจัยเอกสาร ตำรา และแนววินิจฉัยของศาลฎีกา และข้อมูลกฎหมายทางเวปไซด์ ที่เกี่ยวกับการจัดหมวดหมู่อาชญากรรมตามมาตรฐา ... -
จัดหมวดหมู่อาชญากรรมในกฎหมายไทยเข้ากับหมวดหมู่ตามมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการจำแนกประเภทอาชญากรรมเพื่อประโยชน์ทางสถิติ ระยะที่ 3
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-04)
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์สองประการ คือ ประการแรก จัดหมวดหมู่อาชญากรรมในประมวลกฎหมายอาญาและพระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญาของไทย ให้เข้ากับหมวดหมู่ ๐๗ การกระทำเกี่ยวกับการฉ้อฉล การหลอกลวง หรือการทุจริต หมวดหมู่ ๐๘ การกระทำความผิดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน อำนาจรัฐ และบทบัญญัติแห่งรัฐ หมวดหมู่ ๐๙ การกระทำความผิดต่อความปลอดภัยสาธารณะและความมั่นคงของรัฐ และหมวดหมู่ ๑๑ การกระทำความผิดทางอาญาในลักษณะอื่นซึ่งไม่ได้จัดประเภทไว้ในหมวด ๑-๑๐ ตามมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการจำแนกประเภทอาชญากรรมเพื่อประโยชน์ทางสถิติ( ICCS version 1.0) ประการที่สอง ... -
จัดหมวดหมู่อาชญากรรมในกฎหมายไทยเข้ากับหมวดหมู่ตามมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการจำแนกประเภทอาชญากรรมเพื่อประโยชน์ทางสถิติ ระยะที่ 4
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-10-29)
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์สองประการ คือ ประการแรก จัดหมวดหมู่อาชญากรรมในประมวลกฎหมายอาญาและพระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญาของไทย ให้เข้ากับหมวดหมู่ ๑๐ ความผิดเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการจำแนกประเภทอาชญากรรมเพื่อประโยชน์ทางสถิติ (ICCS version 1.0) ประการที่สอง หาแนวทางที่มีประสิทธิภาพและแนวทางการแก้ไขปัญหาหากมีในการจัดทำหมวดอื่นที่เหลือของมาตรฐานระหว่างประเทศ วิธีการศึกษา (๑) ศึกษาวิจัยเอกสาร ตำรา และแนววินิจฉัยของศาลฎีกา และข้อมูลกฎหมายทางเวปไซด์ ที่เกี่ยวกับการจัดหมวดหมู่อาชญากรรมตามมาตรฐานระหว่างประเทศ ... -
ร่างกฎหมายลำดับรอง (เฉพาะมาตราเร่งด่วน)
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-19)
โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำกฎหมายลำดับรองเพื่ออนุวัตน์ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561 จำนวน 13 มาตรา และแบบของประกาศ ระเบียบหรือข้อบัญญัติ และหลักเกณฑ์ วิธีการ จำนวน 5 มาตรา (รวม 18 มาตรา) ที่ออกตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561 สามารถนำไปใช้บังคับได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และได้รับการยอมรับจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องและจัดทำต้นแบบคู่มือการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ.2561 สำหรับให้พนักงานเจ้าหน้าที่และประชาชนสามารถเข้าใจได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยาก และผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปปฏิบัติได้ รวมทั้งให้มีต้นแบบเอก ... -
ร่างแนวทางการเปิดโอกาสให้ผู้ต้องโทษในคดีอาญาและบุคคลล้มละลายให้สามารถเข้าทำงานในหน่วยงานต่าง ๆ
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-04)
บุคคลผู้เคยรับโทษจำคุกมาแล้วจะถูกบันทึกในทะเบียนประวัตอาชญากรจนกว่าบุคคลนั้นจะถึงแก่ความตาย แม้เคยกระทำความผิดมาตอนวัยรุ่นแบบรู้เท่าไม่ถึงการณ์ พ้นโทษมาแล้วเป็นเวลาหลายสิบปี บุคคลนั้นก็ไม่อาจคัดแยก ลบ หรือ ปิดบังประวัติของตนเองได้ หน่วยราชการ นายจ้างหรือบุคคลทั่วไปก็สามารถเข้าถึงประวัติอาชญากรของบุคคลดังกล่าวและเป็นเหตุปฏิเสธบุคคลนั้นไม่ให้ทำงาน ซึ่งไม่สอดคลองกับการลงโทษผู้กระทำความผิดที่ต้องเป็นไปเพื่อฟื้นฟูแก้ไขให้บุคคลนั้นกลับเข้าสู่สังคมอย่างปกติตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองหรือสิทธิทางการเมือง (ICCPR) ข้อ 10 วรรค 3 หน่วยงานของร ... -
วิจัยมาตรฐานอัตราค่าใช้จ่ายในการขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนยุติธรรมกรณีศึกษาอัตราค่าจ้างทนายความกองทุนยุติธรรม
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-11-12)
เอกสารตามไฟล์แนบ -
ศึกษาแนวทางการยกร่างกฎหมายขจัดการเลือกปฏิบัติต่อบุคคล
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565-07-04)
โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ สามประการ คือ ประการแรก เพื่อศึกษา วิเคราะห์ กฎหมายไทยและต่างประเทศที่เกี่ยวกับการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อบุคคลเพื่อนำมาจัดทำแนวทาง มาตรการส่งเสริม ป้องกันการเลือกปฏิบัติต่อบุคคล และเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการเลือกปฏิบัติต่อบุคคลประการที่สอง เพื่อรับฟังความคิดเห็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภาคเอกชน และประชาชน เพื่อประกอบการจัดทำร่างกฎหมาย รวมทั้งการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดจากกฎหมายตามบทบัญญัติมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย ... -
องค์ความรู้และเครื่องมือสําหรับการตรวจสอบความจําเป็นในการตรากฎหมาย
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-10-07)
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงข้อมูลงานวิจัยได้ที่ http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/1192 -
แนวทางปฏิบัติงานการจัดทำแผนป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำแล้ง น้ำท่วม และการดำเนินงานของศูนย์บัญชาการเฉพาะกิจ
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-19)
ตามไฟล์แนบ