ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศผ่านจังหวัดและกลุ่มจังหวัด กิจกรรมที่ 3 การดำเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ : จัดทำห้องปฏิบัติการนวัตกรรมภาครัฐ (Government Innovation Lab) ในระดับพื้นที่
by ศิญาณี หิรัญสาลี
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศผ่านจังหวัดและกลุ่มจังหวัด กิจกรรมที่ 3 การดำเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ : จัดทำห้องปฏิบัติการนวัตกรรมภาครัฐ (Government Innovation Lab) ในระดับพื้นที่ | |
Government Innovation Lab: a strategy-driven project for community empowerment and economic sustainability through provincial and regional areas (Activity 3) | |
ศิญาณี หิรัญสาลี | |
สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
2017 | |
สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
การจัดทำห้องปฏิบัติการนวัตกรรมภาครัฐในระดับพื้นที่นำร่อง 4 จังหวัดอันได้แก่ 1) อำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร ในประเด็นสังคมผู้สูงอายุ 2) อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ในประเด็นการท่องเที่ยวชุมชน 3) อำเภอ เลิงนกทา จังหวัดยโสธร ในประเด็นเกษตรอินทรีย์ และ 4) อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ในประเด็นวิสาหกิจชุมชน โดยได้ใช้เครื่องมือในกระบวนการคิดเชิงออกแบบเข้าไปสร้างให้เกิดการระดมความคิดเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมทางสังคมเพื่อแก้ไขปัญหา ผลลัพธ์จากการดำเนินโครงการตลอดระยะเวลาการดำเนินงาน 5 เดือนที่ผ่านมาเกิดขึ้นใน 2 ระดับ ทั้งในระดับ ผลลัพธ์ในเชิงกระบวนการ และผลลัพธ์ที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรม ในระดับผลลัพธ์ในเชิงกระบวนการ คณะที่ปรึกษาได้สร้างต้นแบบทีมนวัตกรที่ปรึกษาที่ผ่านการอบรมกระบวนการคิดเชิงออกแบบเพื่อนำเครื่องมือไปใช้ในการแก้ไขปัญหาสังคม ส่วนในระดับผลลัพธ์ที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรม เกิดนวัตกรรมทางสังคมในลักษณะของโครงการ ซึ่งได้รับการออกแบบมาเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างสอดคล้องกับบริบทภายในพื้นที่ ได้แก่ โครงการผู้สูงอายุ “พาซ่าส์” จังหวัดพิจิตร โครงการ “ท่องเที่ยวชุมชนบางขุนไทร” จังหวัดเพชรบุรี โครงการ “เครือข่ายวิสาหกิจชุมชนกระจูดพัทลุง” จังหวัดพัทลุง และโครงการสร้างหลักสูตร “ยโสธรโมเดล” จังหวัดยโสธร |
|
Government Innovation Lab
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ |
|
บทความ | |
Text | |
application/pdf | |
tha | |
เอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร | |
สงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) | |
https://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/427 |
Files in this item (CONTENT) |
|
View no-fulltext.doc ( 21.50 KB ) |
This item appears in the following Collection(s) |
|
Collections
|