Show simple item record

dc.contributor.authorไพรัช อุศุภรัตน์
dc.contributor.authorUsubharatana, Phairat
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2016-02-25T07:14:10Z
dc.date.available2016-02-25T07:14:10Z
dc.date.issued2014
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/189
dc.description.abstractDepartment of Medical Sciences or DMSC, operating under supervision of the Ministry of Public Health. The purpose is Analysis services for health products to comsumer protection and Surveillance Laboratory. So samples information collection and Results of laboratory analysis to a system is extremely important for organization management. For long ago this information was collected in any divisions and any standards, so information searching is difficult to use, take a long time and information is out of date. Until in the year B.E.2556 DMSC has implemented Surveillance Laboratory information exchange system project. The project has developed the standard of information exchange between divisions under department. And create a central database of samples information and Results of laboratory analysis through electronic data, to develop the system for excutive officer and end users can use easy and effective and has pilot divisions to exchange electronic data linked. The result of the project above has problem in qualily of data. Because of data in any divisions was not the same standard. It is necessary to revise the standard of information exchange. DMSC via Information and Communication Technology Center (ICTC) and Thammasat University Research and Consultancy Institue (TURAC) has joined to operate the data exchange between divisions of DMSC. In operation to solve the problems in qualily of data by use data standard to the key success via survey, gathering result of data linked from pilot divisions and data from operation to enlarge of data linked from provincial Medical Sciences Centers to analyse and review the data standard to serve as a guideline for the proper management to be strengthened stable and sustainable. The development was carried out and associated information systems to promote the Surveillance Laboratory (iLab) including preparation of standard tests, test method, service change and product groups standard according to the regulation of Department of Medical Sciences (B.E.2555 Analysis Service and Service change ). It could refer to a standard that was developed from iLab System. And have deployed with many Medical Sciences Centers was mapping with data of standard tests, test method, service change and product groups standard. The implementation of this data standard to be appropriate in a systematic, continuous and sustainable.en
dc.description.abstractจากปัญหาการขาดแคลนไม้สำหรับการบริโภค ไม้ยางพาราถือเป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการได้เป็นอย่างดี แต่อย่างไรก็ตาม ผลิตภัณฑ์จากไม้ยางพาราจะต้องมีกระบวนการรักษาเนื้อไม้ด้วยน้ำยาเคมีและอบไล่ความชื้นด้วยพลังงานและสารเคมีสูง นำไปสู่ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม งานวิจัยนี้จึงได้นำแนวคิดของการประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment: LCA) มุ่งเน้นการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ทรัพยากร วัตถุดิบ สารเคมี ตลอดจนพลังงานที่ใช้ในอุตสาหกรรมไม้ยางพาราในประเทศไทย ซึ่งพิจารณาการปลูกไม้ยางพารา การตัดโค่น การแปรรูปอบแห้ง การผลิตไม้ประสาน และไม้อัดประสาน พร้อมทั้งศึกษาผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม 5 กลุ่มผลกระทบ ได้แก่ ผลกระทบทางด้านปรากฏการณ์เรือนกระจก ปรากฏการณ์น้ำเปลี่ยนสี การลดลงของชั้นโอโซน การทำลายทรัพยากร และภาวะความเป็นกรด โดยใช้โปรแกรม SimaPro V.7.3.2 นอกจากนั้น ในการศึกษาครั้งนี้ ยังได้พิจารณาทางด้านเศรษฐศาสตร์ ด้วยหลักการประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจเพื่อเป็นการสร้างสมดุลระหว่างความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและการปกป้องสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติ และรักษาระบบนิเวศไปพร้อมกัน จากผลการศึกษาพบว่า ผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั้ง 5 ด้าน จะมีสาเหตุหลักมาจากการได้มาซึ่งปุ๋ยและการใช้ปุ๋ย โดยเฉพาะผลกระทบทางด้านปรากฏการณ์น้ำเปลี่ยนสี และการลดลงของชั้นโอโซน ซึ่งในแง่ของผลกระทบทางด้านปรากฏการณ์เรือนกระจก การทำลายทรัพยากรและภาวะความเป็นกรด จะมีผลกระทบส่วนหนึ่งมาจากการได้มาซึ่งเชื้อเพลิงและการใช้เชื้อเพลิงและสารเคมีร่วมด้วย และจากการวิเคราะห์ทางด้านเศรษฐศาสตร์เพิ่มเติมพบว่า ผลิตภัณฑ์ที่มาจากการปลูกไม้ยางพาราโดยการใช้ข้อมูลแบบการปันส่วนเชิงปริมาณ น้ำยางสด จะมีค่าประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจสูงที่สุด ไม่ว่าจะพิจารณาผลกระทบทางด้านใดก็ตาม แต่หากพิจารณาผลกระทบสิ่งแวดล้อมโดยใช้ข้อมูลการปันส่วนเชิงเศรษฐศาสตร์ จะทำให้ค่าประสิทธิภาพเชิงนิเวศเปลี่ยนไปคือ ค่าประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจที่พิจารณาผลกระทบทางด้านการเกิดปรากฏการณ์น้ำเปลี่ยนสี และการลดลงของชั้นโอโซน ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มไม้ประสาน จะกลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีค่าประสิทธิภาพเชิงนิเวศสูงที่สุดแทน จากผลดังกล่าวทำให้ทราบแนวทางการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างถูกประเด็นและสามารถใช้เป็นฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมไม้ยางพาราต่อไปในอนาคตth
dc.description.sponsorshipสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมth
dc.subjectอุตสาหกรรมไม้ยางพาราth
dc.subjectRubberwoodth
dc.titleการประเมินเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมไม้ยางพาราไทย
dc.title.alternativeEnvironmental Economics Evaluation of Thailand Rubberwood
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rights.holderสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
cerif.cfProj-cfProjId2557A00113
mods.genreบทความ
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาการวิจัยและการประเมินผล (Research and Evaluation sector : RE)
turac.contributor.clientสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
turac.fieldOfStudyสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record