บูรณาการข้อมูลภูมิสารสนเทศทางหลวงชนบท (Integration Geo Informatics)
by อุรุยา วีสกุล
บูรณาการข้อมูลภูมิสารสนเทศทางหลวงชนบท (Integration Geo Informatics) | |
Integration Geo Informatics | |
อุรุยา วีสกุล | |
2564-12-20 | |
สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
ปัจจุบันกรมทางหลวงชนบทมีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ของหน่วยงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เช่น เทคโนโลยี IoT มาใช้เพื่อตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์บนสายทางเทคโนโลยี การสำรวจสมัยใหม่โดยใช้กล้อง CCTV มาใช้ในการตรวจสอบสภาพการจราจร หรือเทคโนโลยีด้านฐานข้อมูลเชิงแผนที่ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการตำแหน่งสายทาง เป็นต้น โดยการบูรณาการข้อมูลร่วมกันภายในหน่วยงาน ทั้งจากฐานข้อมูลและอุปกรณ์เซ็นเซอร์ต่าง ๆ เช่น กล้อง CCTV อุปกรณ์ ตรวจวัดสัญญาณไฟฟ้าส่องสว่าง จะมีส่วนช่วยให้การกำกับ ติดตามผลสัมฤธิ์การดำเนินงานของหน่วยงานให้ เป็นไปตามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายต่าง ๆ ตลอดจนก่อให้เกิดการบริหารจัดการข้อมูลที่มีอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โครงการนี้ได้มีการรวบรวมและเชื่อมโยงข้อมูลภูมิสารสนเทศภายในกรมทางหลวงชนบท เข้ามาไว้ในระบบศูนย์ข้อมูลกลางด้านภูมิสารสนเทศของกรมทางหลวงชนบท และสามารถแสดงรายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร (Geo Dashboard) จากนั้นดำเนินการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI) เพื่อหาแนวโน้มพยากรณ์อนาคตเพื่อทำให้ผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง ต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศไทยต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศลดลง ด้วยการนำเทคโนโลยีดิจิทัลดังกล่าวที่ถูกพัฒนาขึ้นมาบูรณาการร่วมกันกับข้อมูลและการนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด Currently, the Department of Rural Roads (DRR) has adopted digital technology to support the operations in various areas of the agency to achieve maximum efficiency; for instance, the IoT technology used to monitor the operation of equipment on the roads, Modern survey technology using CCTV cameras to monitor traffic conditions or technology (GIS) used to manage positions of highway assets. This project aims to develop a platform that can integrate all collected data from different technological channels to assist the highway authorities to closely supervise and monitor the operations. The developed platform has enabled the DRR to achieve its goals and contribute to national strategies. In addition, the DRR can utilize the developed platform to generate a summary report and then analyze the data with the help from the developed artificial intelligence (AI) to forecast future trends related to accidents and road safety. It is expected to reduce the number of deaths from traffic accidents and eventually reduce the Thailand's logistics costs. |
|
เทคโนโลยีดิจิทัล
การประมวลผลด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI) ผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง ลดต้นทุนโลจิสติกส์ artificial intelligence accidental deaths logistics cost highway technology |
|
รายงานวิจัย | |
Text | |
application/pdf | |
tha | |
เอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยผู้ให้ทุน ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร | |
บุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงเอกสารนี้ได้ | |
กรมทางหลวงชนบท | |
https://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/1035 |
Files in this item (CONTENT) |
|
View no fulltext.doc ( 21.50 KB ) |
This item appears in the following Collection(s) |
|
Collections
|