Now showing items 1-7 of 7

    • type-icon

      การจัดทำดัชนีอุตสาหกรรมระดับจังหวัด 

      เพ็ญแข ศิริวรรณ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      Major purposes of Project for Setting Provincial Industrial Index are to develop management system of provincial industrial information resources, to definitely improve industrial resources database to be completely efficient, up-to-date and single standard, and to set up provincial industrial index for measuring economic and industrial conditions of provinces as well as for linking to national industrial information resources. The joint project initially implemented in the fiscal year of 2012 and having been proceeded continuously in 2013 by ...
    • type-icon

      จัดทำดัชนีอุตสาหกรรมระดับจังหวัด 

      พีระศักดิ์ อินทรไพบูลย์; ชินนะพงษ์ บำรุงทรัพย์; Intarapaiboon, Peerasak; Bumrungsup, Chinnaphong (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      ดัชนีอุตสาหกรรมระดับจังหวัดสามารถใช้เป็นเครื่องวัดสภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระดับจังหวัด รวมทั้งเป็นการเชื่อมโยงข้อมูลอุตสาหกรรมระดับประเทศได้ กระทรวงอุตสาหกรรมจึงได้กำหนดให้โรงงานรายงานข้อมูลการผลิตต่อสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สสอ.) ทุกเดือน เพื่อนำมาวิเคราะห์และจัดทำรายงานดัชนีอุตสาหกรรมรายเดือน ในโครงการนี้ ระบบจัดเก็บข้อมูลการผลิต และประมวลดัชนีแบบออนไลน์ ได้ถูกพัฒนาขึ้น และนำระบบนี้ไปทดสอบกับ 8 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ พิจิตร นครราชสีมา ขอนแก่น ระยอง สมุทรสาคร สุราษฎร์ธานี และสงขลา โดยดัชนีอุตสาหกรรมที่ประมวลได้จากระบบประกอบด้วย ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ...
    • type-icon

      จัดทำแผนการตลาดและประชาสัมพันธ์เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 

      วิทวัส รุ่งเรืองผล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-02-10)

      เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเป็นนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ที่รัฐบาลให้ความสำคัญสูง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่บริเวณชายแดนเป็นประตูเศรษฐกิจเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบ้าน โดยใช้ประโยชย์จากโอกาสการเชื่อมโยง (Connectivity) ในภูมิภาค เพื่อกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค ลดความเหลื่อมล้ำทางรายได้ และยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น ดังจะเห็นได้จากความมุ่งมั่นของภาครัฐที่จะพัฒนาปัจจัยสนับสนุนเพื่อส่งเสริมให้พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษทั้ง 10 จังหวัด มีความเข้มแข็งในทุกด้าน และเพื่อให้การขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ในแต่ละป ...
    • type-icon

      จัดทำแผนขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาหกรรมตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) สู่การพัฒนาในระดับพื้นที่กลุ่มจังหวัด 

      พีระ เจริญพร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565-01-07)

      กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์อุตสาหกรรม กองนโยบายอุตสาหกรรมมหภาค สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ได้จัดทำโครงการจัดทำแผนขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาหกรรมตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) สู่การพัฒนาในระดับพื้นที่กลุ่มจังหวัด เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนและขยายผลการพัฒนาอุตสาหกรรมตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนลงสู่ระดับพื้นที่ เป็นการยึดโยงการพัฒนาอุตสาหกรรมกับศักยภาพเชิงพื้นที่ และเชื่อมโยงให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ผ่านรูปแบบการผลิตตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนภายใต้ความร่วมมือของภาคส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างบูรณาการ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อจัดทำ ...
    • type-icon

      พัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม 

      พาณุวงศ์ คัมภิรารักษ์; มฑุปายาส ทองมาก; คมน์ พันธรักษ์; ลัดดาวัลย์ แก้วกิติพงษ์; ปิเตอร์ รักธรรม; วินัย นาดี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-09-15)

      โครงการพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม เพื่อพัฒนาไปสู่การใช้ระบบดิจิทัลมากขึ้น โดยมีองค์ประกอบ 4 ส่วน คือ - พัฒนาระบบการนำเข้าข้อมูลตามแบบ iSingleForm ทั้งแบบแจ้งข้อมูลการประกอบกิจการโรงงานรายเดือน (ร.ง.8) และแบบแจ้งข้อมูลการประกอบกิจการโรงงานรายปี (ร.ง.9) ตามที่กฎหมายกำหนดภายใต้กระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อนำข้อมูลเหล่านั้นไปประมวลผลเป็นค่าดัชนีอุตสาหกรรม รายงานผลิตภาพอุตสาหกรรม ภาวะอุตสาหกรรมรายเดือน ภาวะอุตสาหกรรมรายไตรมาสและรายปี เพื่อติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจอุตสาหกรรมของประเทศ - พัฒนาระบบก ...
    • type-icon

      พัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม 

      พาณุวงศ์ คัมภิรารักษ์ (สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2022-12-20)

      โครงการพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม ปีงบประมาณ 2655 เป็นโครงการระยะที่ 3 ต่อจากปีงบประมาณ 2564 เพื่อพัฒนาและต่อยอดการนำเข้าข้อมูลและการรายงานไปสู่การใช้ระบบดิจิทัลมากขึ้น โดยมีงานหลัก ดังนี้ 1) การปรับปรุงระบบการแจ้งข้อมูลรายเดือนและรายปีของผู้ประกอบการตามแบบฟอร์ม Single Forms ของกระทรวงอุตสาหกรรม (Digital Survey) ให้มีประสิทธิภาพและอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ประกอบการมากขึ้น 2) การพัฒนาระบบการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่นำเข้าสู่ระบบด้วยกระบวนการทางสถิติ และการพัฒนาระบบรักษาความปลอดภัย ...
    • type-icon

      ศึกษาศักยภาพชิ้นส่วนประกอบรถยนต์ที่เป็น Product Champion ของไทย 

      อัญชลี พิพัฒนเสริญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      รายงานการศึกษาฉบับนี้มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อศึกษาสถานภาพและแนวโน้มของอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนประกอบรถยนต์ (Accessories) และศึกษากลุ่มชิ้นส่วนประกอบรถยนต์ รถยนต์ (Accessories) สำหรับผลิตภัณฑ์ที่เป็น Product Champion ของไทย คือ รถปิกอัพ 1 คัน รถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล และรถจักรยานยนต์ ตลอดจนวางยุทธศาสตร์การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชิ้นส่วนประกอบรถยนต์ (Accessories) สำหรับผลิตภัณฑ์ที่เป็น Product Champion ของไทยให้สามารถเพิ่มโอกาสในการส่งออกไปยังตลาดอาเซียนและ/หรือตลาดส่งออกอื่นๆ ที่มีศักยภาพ จากการศึกษาตลาดของรถยนต์ที่เป็น Product Champion ...