Browsing โครงการที่ปรึกษา by Title
Now showing items 1-11 of 11
-
การประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัย (Post - Disaster Needs Assessment :PDNA) เพื่อจัดทำกรอบการฟื้นฟูหลังเกิดสาธารณภัย (Post Disaster Recovery Framework :PDRF)
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-26)
โครงการศึกษาวิจัยการประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัย (Post Disaster Needs Assessment: PDNA) เพื่อจัดทำกรอบการฟื้นฟูหลังเกิดสาธารณภัย (Post Disaster Recovery Framework: PDRF) มี วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัย และกรอบการฟื้นฟูหลังเกิดสาธารณภัยให้แก่บุคลากรกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและหน่วยงานภาคี เครือข่ายที่เกี่ยวข้องให้สามารถประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัยตามแบบฟอร์มมาตรฐานสากล เพื่อจัดทำฐานข้อมูลการประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัย (PDNA baseline data) เพื่อให้ประเทศมี ... -
การพัฒนาย่านนวัตกรรมพัทยา (Pattaya Innovation District Development)
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-01-21)
ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ทั้งรัฐบาลและเมืองพัทยา รวมถึงภาคธุรกิจและภาคประชาชนในท้องถิ่นต่างมีความเห็นร่วมกันในการพัฒนาเมืองพัทยา โดยมีเป้าหมายสำคัญในการสร้างภาพลักษณ์ใหม่ จากการเมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยวสีเทา ให้กลายเป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจการท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงที่ดี ในระดับภูมิภาคและระดับโลก สำหรับนักท่องเที่ยวคุณภาพทั้งชาวไทยและต่างชาติ นอกจากนี้การพัฒนาให้เมืองพัทยาเป็นเมืองที่สามารถดึงดูดการลงทุน เป็นที่ตั้งของธุรกิจที่หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างความเป็นย่านนวัตกรรม เพื่อให้สามารถสร้างนวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร ... -
จัดทำผังแม่บทพัฒนาพื้นที่ การปรับปรุงภูมิทัศน์ และการออกแบบตลาดชุมชนบ้านร่ม
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565-07-22)
สืบเนื่องจากพื้นที่บริเวณชุมชนบ้านร่มเป็นพื้นที่ชุมชนที่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชุมชนอย่างยาวนาน เป็นชุมชนที่มีศักยภาพในเชิงวัฒนธรรมในด้านอาหารและวัตถุดิบท้องถิ่น ประกอบกับทำเลที่ตั้งของชุมชนยังเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง เป็นพื้นที่ที่อยู่ติดกับพื้นที่บริเวณริมแม่น้ำปัตตานีมีความสมบูรณ์ในเชิงของระบบนิเวศทางธรรมชาติ และเป็นพื้นที่ที่การกระจุกตัวของหน่วยงานภาครัฐ เหมาะแก่การเป็นพื้นที่สาธารณะของเมืองที่ผสมผสานระหว่างธรรมชาติ และวัฒนธรรมท้องถิ่น นอกจากนี้ชุมชนบ้านร่ม เป็นชุมชนดั้งเดิมที่อยู่คู่กับพื้นที่มาอย่างยาวนาน ทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็งแล ... -
จ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดทำแผนพัฒนาของเทศบาล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ (แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย)
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)
Poochaosamingprai Strategic Development Plan has been prepared in compliance with the National Economic and Social Development Plan. However, due to the dynamic change of urban environment, the direction of development plan could not meet the needs of local people. Furthermore, the continuing and emerging environment problems in the municipality area required a public mobilization in a sense of great urgency. On the other hand, with low public’s awareness and lack of sense of ownership, it cannot succeed in putting several concerns of the ... -
พัฒนาการเปลี่ยนแปลงสังคม การเมืองไทย และความคิดเรื่องการปฏิรูปที่เกี่ยวเนื่อง
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562)
เข้าถึงข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ของสถาบัน http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/928 -
วิจัยเพื่อสำรวจภารกิจและงบประมาณของส่วนราชการในพื้นที่เกาะสมุย : การศึกษาเพื่อเตรียมข้อมูลสนับสนุนสำหรับการพัฒนาพื้นที่เกาะสมุยเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-10-07)
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงข้อมูลงานวิจัยได้ที่ http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/1190 -
ศึกษาระเบียบและแนวทางปฏิบัติในการประเมินราคาทรัพย์สินเพื่อสนับสนุน การประเมินราคาที่ดินรายแปลง
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-12-30)
โครงการศึกษาระเบียบและแนวทางปฏิบัติในการประเมินราคาทรัพย์สินเพื่อสนับสนุนการประเมินราคาที่ดินรายแปลงมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการในการกำหนดราคาประเมินทุนทรัพย์ของอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งใช้ในการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิ์และนิติกรรมให้เหมาะสมกับสภาวะการณ์ปัจจุบันและเกิดความเป็นธรรม การดำเนินโครงการฯ คณะวิจัยได้ทบทวนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องและจัดประชุมร่วมกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน เพื่อรับฟังความเห็นวิธีการดำเนินงานที่ควรปรับปรุงให้เหมาะสมและถูกต้อง โดยผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ง ... -
สำรวจภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ปีงบประมาณ 2562
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-19)
การสำรวจภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.)ปีงบประมาณ 2562 มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ กทพ. จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7 กลุ่ม ประกอบด้วย (1) ผู้ใช้บริการทางพิเศษ (2) ภาครัฐในฐานะเจ้าของ (3) เจ้าหน้าที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (4) ผู้ได้รับผลกระทบจากการเวนคืน (5) คู่ค้า (6) ชุมชนรอบเขตทางพิเศษ และ (7) สังคม เพื่อนำผลที่ได้จากการศึกษาไปใช้ในการประเมินผลลัพธ์ในการดำเนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร และพัฒนาเป็นแนวทางในการส่งเสริมภาพลักษณ์ต่อดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ ... -
ส่งเสริมการมีรายได้และการมีงานทำของผู้สูงอายุ ตามนโยบายประชารัฐเพื่อสังคม (E6)
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-12-30)
ประเทศไทยเป็นสังคมของผู้สูงอายุ โดยในปัจจุบันประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยมีประชากรที่อายุตั้งแต่ 60 ขึ้นไปประมาณ 10,225,322 คน คิดเป็นร้อยละ 15.82 ของประชากรทั้งหมด มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (2558) คาดการณ์ว่าประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ (ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด) ในปี พ.ศ.2564 และในปี พ.ศ.2574 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอด คือ ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 28 ของประชากรทั้งหมด การจ้างงานผู้สูงอายุเป็นมาตรการที่สำคัญของประเทศที่เป็นสังคมผู้สูงอายุ ... -
เพื่อประเมินมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจและสังคมจากภารกิจ ของ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) ประจำปี 2561
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-07-20)
จากการประเมินมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมจากการดำเนินงานของสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) มีการสร้างมูลค่ารวมทั้งหมด 2,691.72 ล้านบาท ซึ่งเป็นการประมาณการจากโครงการจำนวน 30 โครงการ แบ่งตามยุทธศาสตร์ได้ดังนี้ 1. มูลค่าที่เกิดขึ้นตามยุทธศาสตร์ที่ 1 เท่ากับ 108.24 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.01 2. มูลค่าที่เกิดขึ้นตามยุทธศาสตร์ที่ 2 เท่ากับ 32.06 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.19 3. มูลค่าที่เกิดขึ้นตามยุทธศาสตร์ที่ 3 เท่ากับ 2,395.81 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 89.01 4. มูลค่าที่เกิดขึ้นตามยุทธศาสตร์ที่ 4 เท่ากับ 83.32 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ... -
แผนที่ภาษี และทะเบียนทรัพย์สิน ระยะที่ 2
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-07-02)
ด้วยกระทรวงมหาดไทยมีนโยบายส่งเสริมสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปรับปรุงแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน เพื่อนำไปใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ องค์การบริหารส่วนตำบลอ้อมเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เห็นว่าควรมีการปรับปรุงระบบแผนที่ภาษีเดิมให้เป็นปัจจุบัน ซึ่งเมื่อดำเนินการเสร็จเรียบร้อยตามโครงการแล้ว จะทำให้องค์การบริหารส่วนตำบลอ้อมเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มีข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพย์สินต่าง ๆ ของประชาชนที่เป็นปัจจุบันไว้ใช้สำหรับการจัดเก็บภาษี (ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีโรงเรือน และที่ดิน ภาษีป้าย รวมทั้งค่าธรรมเนี ...