Browsing โครงการวิจัย by Author "วิลาวัณย์ ภมรสุวรรณ"
Now showing items 1-5 of 5
-
จัดทำแนวเส้นทางท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในพื้นที่แหล่งมรดกที่มีคุณค่าความโดดเด่นในระดับสากลสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
โรจน์ คุณเอนก; สมบูรณ์ กีรติประยูร; วิลาวัณย์ ภมรสุวรรณ; มารุต สุขสมจิตร; จิรวัฒน์ รุ่งเลิศตระกูลชัย; ไตรเทพ วิชย์โกวิทเทน (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)
โครงการจัดทำแนวเส้นทางท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในพื้นที่แหล่งมรดกที่มีคุณค่าความโดดเด่นในระดับสากล สู่สังคมคาร์บอนต่ำ เป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำแนวเส้นทางท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในพื้นที่แหล่งมรดกที่มีคุณค่า เพื่อให้การคุ้มครอง และปกป้องแหล่งฯ ให้คงคุณค่าความโดดเด่นอันเป็นสากล (Outstanding Universal Value) นำไปสู่วิถีชุมชนสังคมคาร์บอนต่ำและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และเพื่อจัดทำสื่อเผยแพร่ความสำคัญด้านคุณค่าโดดเด่นอันเป็นสากลของแหล่งมรดกที่เป็นพื้นที่นำร่อง ตลอดจนเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในคุณค่าความโดดเด่นอันเป็นสากล และการอนุรักษ์ ... -
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแหล่งมรดกโลกและแหล่งที่มีคุณค่าความโดดเด่นในระดับสากลอย่างยั่งยืน : แผนจัดการการอนุรักษ์และคุ้มครองแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช
โรจน์ คุณเอนก; สมบูรณ์ กีรติประยูร; วิลาวัณย์ ภมรสุวรรณ; มารุต สุขสมจิตร; จิรวัฒน์ รุ่งเลิศตระกูลชัย; ไตรเทพ วิชย์โกวิทเทน (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)
โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแหล่งมรดกโลกและแหล่งที่มีคุณค่าความโดดเด่นในระดับสากลอย่างยั่งยืน: แผนจัดการการอนุรักษ์และคุ้มครองแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำแผนจัดการการอนุรักษ์ และคุ้มครองแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมกำหนดแนวทางและมาตรการในการดูแล ตลอดจนส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในคุณค่าและความสำคัญของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่อยู่ระหว่างเตรียมการนำเสนอเป็นแหล่งมรดกโลกให้กับชุมชนและหน่วยงานโดยรอบแหล่งมรดก ผ่านกระบวนการมีส่ว ... -
อนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า : การกำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่า
วิลาวัณย์ ภมรสุวรรณ; อนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า : การกำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่า (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)
เมืองเก่าเป็นเมืองที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะแห่งสืบต่อมาแต่กาลก่อน และมีเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมท้องถิ่น หรือมีรูปแบบผสมผสานของสถาปัตยกรรมท้องถิ่น หรือมีลักษณะของรูปแบบวิวัฒนาการทางสังคมที่สืบต่อมาของยุคต่างๆ ซึ่งมีคุณค่าในทางศิลปะ สถาปัตยกรรม โบราณคดี และประวัติศาสตร์ และยังมีการใช้สอยในลักษณะเมืองที่ยังมีชีวิตอย่างต่อเนื่องจากอดีตถึงปัจจุบัน เช่น กรุงรัตนโกสินทร์ เมืองเก่าเชียงใหม่ เมืองเก่าสงขลา เมืองเก่าน่าน เป็นต้น ปัจจุบันเมืองเก่าได้ถูกความเจริญและการขยายตัวของเมืองอย่างไร้ทิศทาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินที่หลากหลายกิจกรรม ทั้งภาคราชการและเอกชน ... -
อนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า : กำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่ากลุ่มที่ 2 (เมืองเก่า พะเยา เมืองเก่าพิจิตร เมืองเก่าตาก เมืองเก่านครราชสีมา เมืองเก่าสกลนคร เเละเมืองเก่าสตูล)
วิลาวัณย์ ภมรสุวรรณ; สมบูรณ์ กีรติประยูร; ไตรเทพ วิชย์โกวิทเทน; มารุต สุขสมจิต; จุฑาศินี ธัญประณีตกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)
ปัจจุบันเมืองเก่าได้ถูกความเจริญและการขยายตัวของตัวเมืองอย่างไม่มีขอบเขตและทิศทาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินที่หลากหลายกิจกรรม ทั้งภาคราชการและเอกชน เกิดความหนาแน่นแออัดของอาคารสถานที่และการจราจร เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชน และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิทัศน์ ทำให้องค์ประกอบเมืองเก่า คุณค่าของเมือง และเอกลักษณ์ความเป็นเมืองเก่าค่อย ๆ ลดความสำคัญและถูกทำลาย รัฐบาลจึงได้กำหนดนโยบายการดำเนินงานเป็นพิเศษเฉพาะพื้นที่ เป็นระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และเมืองเก่า พ.ศ. 2546 กำหนดให้มีการกำหนดขอบเข ... -
เสริมสร้างความเข้มแข็งในการตั้งรับและปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรอบแหล่งมรดกโลก
โรจน์ คุณเอนก; จิรวัฒน์ รุ่งเลิศตระกูลชัย; สมบูรณ์ กีรติประยูร; วิลาวัณย์ ภมรสุวรรณ; ไตรเทพ วิชย์โกวิทเทน; ขวัญจิรา ฉัตรพรรณรังสี; มารุต สุขสมจิตร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)