Now showing items 1-3 of 3

    • type-icon

      การจัดทำรายละเอียดโครงการ Architectural Programming และข้อมูลเพื่อการออกแบบ Design Brief ภายใต้โครงการเตรียมการจัดตั้งและออกแบบศูนย์การเรียนรู้แห่งชาติ National Knowledge Center : NKC 

      พีรดร แก้วลาย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-08-07)

      สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ ได้ดำเนินการด้านการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้และองค์ความรู้มาอย่างยาวนานกว่า 13 ปี ทำให้เห็นถึงความสำคัญของศูนย์การเรียนรู้ที่มีบทบาทระดับประเทศทันสมัยและสอดคล้องกับวิถีชีวิตและพฤติกรรของคนในยุคปัจจุบัน จึงได้ดำเนินการจัดทำรายละเอียดโครงการ และข้อมูลเพื่อการออกแบบภายใต้โครงการเตรียมการจัดตั้งและออกแบบศูนย์การเรียนรู้แห่งชาติขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลความต้องการการใช้พื้นที่และปัญหาการใช้พื้นที่เดิมกำหนดพื้นที่ใช้สอยที่เหมาะสมกับพื้นที่ใหม่ กำหนดแนวทางการใช้พื้นที่ของศูนย์การเรียนรู้แห่งช ...
    • type-icon

      งานศึกษาแนวทางการจัดตั้ง National Knowledge Park ที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย 

      พีรดร แก้วลาย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-08-07)

      ความรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นความรู้ที่มีความพลวัต (Dynamic) ซึ่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ประกอบด้วย นวัตกรรมความคิดสร้างสรรค์ และข้อมูล ทำให้ลักษณะของการเข้าถึงความรู้เป็นไปในลักษณะที่ผ่านกระบวนการแบ่งปันความรู้การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างบุคคล โดยศูนย์ความรู้แห่งชาติ พื้นที่เพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จะทำหน้าที่เปรียบเสมือนเป็นตัวกลาง ในการอำนวยความสะดวกให้กับการเข้าถึงความรู้ที่เป็นพลวัต เป็นผู้สร้างพื้นที่บริการ (Space Provider) และผู้อำนวยและประสานในการเข้าถึงความรู้ (Facilitator) ดังนั้นโครงการศูนย์ความรู้แห่งชาติจำเป็นต้องกำหนดแนวความคิดโค ...
    • type-icon

      ศึกษาวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) ของงานวิจัยและแนวทางถ่ายทอดองค์ความรู้จากงานวิจัยด้านเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพ และอาหารของประเทศไทยในอนาคต 

      นนท์ นุชหมอน (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-08-07)

      การดำเนินโครงการ “ศึกษาวิเคราะห์ช่องว่างของงานวิจัยและแนวทางถ่ายทอดองค์ความรู้จากงานวิจัยด้านเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพ และอาหารของประเทศไทยในอนาคต” เป็นกลไกกำหนดทิศทางงานวิจัยด้านเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพ และอาหาร พร้อมทั้งการถ่ายทอดองค์ความรู้จากงานวิจัยแก่เกษตรกร จากการวิเคราะห์ระบบนิเวศนวัตกรรมในระดับโครงการหรือระดับพื้นที่ จาก 35 กรณีศึกษา ด้วยเทคนิค “การวิเคราะห์โครงข่ายทางสังคม” (social network analysis: SNA) มีข้อสังเกตเบื้องต้น ได้แก่ 1) ด้านองค์ความรู้ 2) ด้านการสร้างเครือข่าย และ 3) ด้านงบประมาณ พบว่า เกษตรกร มีบทบาทมากในทั้งสามด้าน ...