Collections in this community

Recent Submissions

  • type-icon

    ศึกษาแรงลมของโครงการอาคาร CU 33 โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม 

    วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-03-04)

    วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการอาคาร GEN-A โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช้กระจ...
  • type-icon

    ทดสอบน้ำหนักบรรทุกที่มีผลต่อกำแพงกันดินจากรถบรรทุกขนาด25 ตัน 

    สายันต์ ศิริมนตรี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-01-27)

    รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลการตรวจวัดการตอบสนองของโครงสร้างกำแพงกันดินที่มีต่อน้ำหนักบรรทุกในสภาวะการใช้งานปกติเป็นเวลา 24 ชั่วโมง โดยโครงสร้างที่พิจารณาอยู่ภายในพื้นที่ของการประปานครหลวง (กปน.) โดยกำแพงกันดินดังกล่างเป็นส่วนหนึ่งของถนน แจ้งวัฒนะ-ประชาชื่น เป็นถนนเลียบคลองประปาระยะประมาณ 500 เมตร ทั้งนี้ความเป็นไปได้มีการบันทึกผลการตอบสนองโดยค่าความเครียด การเอียงตัวและระดับการสั่นไหว พบว่าค่าความเครียดมีค่ามากที่สุดเท่ากับ 8 microstrain ค่าการเอียงตัวมากที่สุดเท่ากับ 0.0021 Degree และ ค่าระดับการสั่นไหวมีค่ามากที่สุดเท่ากับ 0.5%g....
  • Thumbnail

    การศึกษาแรงลม ของโครงการอาคารพาร์ค ออริจิ้น พระราม 4 โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม 

    วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-01-22)

    ตามไฟล์แนบ
  • Thumbnail

    COPACABANA PATTAYA เพื่อทำการศึกษาแรงลม โดยวิธีทดสอบจำลองในอุโมงค์ลม 

    วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-12-09)

    รายละเอียดตามเอกสารแนบ
  • Thumbnail

    พัฒนามาตรฐานการตรวจสอบการประเมินและซ่อมแซมโครงสร้างอาคารเก่าและโครงสร้างอาคารที่เสียหาย 

    สมนึก ตั้งเติมสิริกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-11-12)

    รายละเอียดตามไฟล์แนบ
  • type-icon

    แนวทางการบูรณะโครงสร้างสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า 

    กฤดายุทธ์ ชมภูมิ่ง (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-05)

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาสำรวจ วิเคราะห์ และกำหนดแนวทางการบูรณะปรับปรุงโครงสร้างสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า โดยการดำเนินงานประกอบด้วย 1) การสำรวจความเสียหาย (Visual Inspection) ของโครงสร้างสะพาน 2) การสำรวจค่าพิกัด (Alignment) และระดับ (Profile) ของโครงสร้างสะพาน และการตรวจวัดการเคลื่อนตัวของชิ้นส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างสะพาน 3) การตรวจสอบพฤติกรรมการรับน้ำหนักของโครงสร้างสะพานภายใต้น้ำหนักบรรทุกทดสอบและภายใต้การจราจรปกติ (Bridge Load Test and Behavior Measurement) 4) การวิเคราะห์พฤติกรรมและการประเมินความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างสะพาน และ...
  • type-icon

    การศึกษาแรงลมโดยวิธีทดสอบแบบจำลองในอุโมงค์ลม โครงการอาคาร WHA BANGNA (WIND LOAD STUDY FOR WHA BANGNA BUILDING PROJECT BY WIND TUNNEL TEST) 

    วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-20)

    วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการอาคาร WHA Bangna โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช...
  • type-icon

    วิเคราะห์โครงสร้างสะพานท่าเทียบเรือของบริษัท เคอรี่ สยามซีพอร์ต จำกัด อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 

    รองศาสตราจารย์ ดร. สายันต์ ศิริมนตรี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562)

    รายงานฉบับนี้แสดงถึงการวิเคราะห์คำนวณกำลังการรับน้ำหนักสูงสุดสำหรับสะพานในส่วน Approach ในพื้นที่ของ Kerry Siam Seaport โดยโครงสร้างดังกล่าวประกอบไปด้วยสะพานช่วง 25, 30 เมตร และโครงสร้างส่วน Splay Area โดยกระบวนการวิเคราะห์ตามมาตรฐาน AASHTO ที่ทำให้ Load Rating มีค่ามากกว่า 1.0 น้ำหนักบรรทุกสูงสุดที่โครงสร้างสามารถรับได้ มีค่าเท่ากับ 420 ตันของน้ำหนักทั้งหมดภายใต้รูปแบบรถ SPMT จำนวน 21 เพลา โดยการเคลื่อนผ่านจะต้องเป็นการดำเนินงานด้วย Special limited crossing ที่มีการควบคุมความเร็วและรถร่วมผ่านโครงสร้าง อย่างไรก็ตาม กระบวนการ Inspection และ Moni...
  • type-icon

    การศึกษาแรงลมโดยวิธีทดสอบแบบจำลองในอุโมงค์ลม โครงการอาคาร XT Phetchaburi (Wind Load Study for XT Phetchaburi Building Project by Wind Tunnel Test) 

    วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2019)

    วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการอาคารชุด XT เพชรบุรี (PBT)โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงล...
  • type-icon

    ตรวจสอบการออกแบบโครงสร้างเสาผนังรับแรงเฉือนและฐานราก อาคารอำนวยการของสถาบันการบินพลเรือน เพื่อยืนยันความถูกต้องของการออกแบบ 

    สายันต์ ศิริมนตรี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

    ด้วยบริษัท อี เอม เอส คอนซัลแตนท์ ซึ่งเป็นผู้ออกแบบอาคารอำนวยการ สถาบันการบินพลเรือน และได้ดำเนินการเปลี่ยนแปลงแก้ไขแบบ รายละเอียดโครงสร้าง เสา ผนังรับแรงเฉือน และ ฐานราก ทั้งนี้โครงสร้างที่เปลี่ยนแปลงดังกล่าวต้องสามารถต้านทานน้ำหนักบรรทุกได้โดยปลอดภัย และไม่ส่งผลกระทบต่อมูลค่างานก่อสร้างโดยรวม ทาง บริษัท อี เอม เอส คอนซัลแตนท์ ได้ติดต่อมายัง สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้ทำการตรวจสอบแบบและรายการคำนวณดังกล่าว ทางผู้อำนวยการสำนักฯ ได้มอบหมายให้ รองศาสตราจารย์ ดร.สายันต์ ศิริมนตรี วุฒิวิศวกรโยธา หมายเลขทะเบียน วย.15...
  • type-icon

    ทำการศึกษาแรงลม โดยวิธีวัดแรงลัพธ์ที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม โครงการ หมอชิต คอมเพล็กซ์ 

    วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

    วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการอาคารชุด หมอชิต โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช...
  • type-icon

    ศึกษาแรงลมสำหรับออกแบบโครงการ Whizdom 101 Commercial Building Project 

    วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

    วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการอาคาร Whizdom 101 Commercial โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช้กระจกที่บางลงได้ 2) ศึกษาผลกระทบของแรงลมต่อผู้ใช้และผู้สัญจรรอบอาคาร ด้วยวิธีการวัดความเร็วลมบริเวณอาคารและโดยรอบ ในอุโมงค์ลม เพื่อสร้างความสะดวกสบายให้กับผู้ใช้และผ...
  • type-icon

    พัฒนาแบบจำลองและระบบตรวจวิเคราะห์ความมั่นคงแข็งแรงสะพาน ระยะที่ 1 

    กฤดายุทธ์ ชมพูมิ่ง; สายันต์ ศิริมนตรี; บุรฉัตร ฉัตรวีระ; นรินทร์ วัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

    ในปัจจุบันโครงสร้างสะพานขนาดใหญ่หลายแห่งได้มีการใช้งานมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน ส่งผลให้สภาพการใช้งานของโครงสร้างมีการเปลี่ยนแปลงและแตกต่างไปจากสภาวะหรือเงื่อนไขที่พิจารณาในการออกแบบและก่อสร้างสะพาน นอกจากนี้สะพานยังเกิดการเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งานที่เพิ่มขึ้นและมีความชำรุดเสียหาย ส่งผลกระทบโดยตรงต่อความสามารถในการใช้งาน (Serviceability) และความมั่นคงแข็งแรง (Strength) ตลอดจนอายุการใช้งานหรือความทนทานของสะพาน (Durability) รวมถึงความปลอดภัยและความพอใจของผู้ใช้สะพาน (Public Safety and Comfort) จึงมีความจำเป็นในการพัฒนาแบบจำลองและระบบตรวจวิเคราะห์คว...
  • type-icon

    การวิเคราะห์โครงสร้างสะพานสารสิน จ.ภูเก็ต 

    สายันต์ ศิริมนตรี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

    รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลการตอบสนองของโครงสร้างที่มีต่อน้ำหนักบรรทุกพิเศษ โดยโครงสร้างที่พิจารณาประกอบไปด้วยสะพานสารสิน ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต นำเสนอในรูปแบบของ Load Rating โดยอ้างอิงกระบวนการตามมาตรฐาน AASHTO ทั้งนี้ความเป็นไปได้ในการเคลื่อนผ่านได้ถูกนำเสนอโดยน้ำหนักดังกล่าวประกอบไปด้วยรถบรรทุกหนักพิเศษขนาด 408, 544 และ 680 ตัน
  • type-icon

    ตรวจสอบแรงดึงของลวดอัดแรงที่อยู่ภายในคานรูปกล่องของโครงสร้างทางพิเศษที่ได้รับความเสียหายจากเหตุเพลิงไหม้บริเวณเสาตอม่อที่ 11/22 ทางพิเศษบูรพาวิถี กม. 11+800 

    นคร ภู่วโรดม (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

    ผลการตรวจวัดแรงดึงในลวดอัดแรงของคานสะพานรูปกล่องของทางพิเศษบูรพาวิถี เสาตอม่อที่ 11/22 วัตถุประสงค์ของการดำเนินการคือเพื่อตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของค่าแรงดึงในลวดอัดแรงของคานสะพานที่อาจได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์เพลิงไหม้เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2560 วิธีที่ใช้ในการหาค่าแรงดึงใช้หลักการตรวจวัดค่าความถี่ธรรมชาติของลวดอัดแรง และพิจารณาค่าความแข็งเชิงดัดของลวดอัดแรงในการหาแรงดึงและปรับแก้ค่าแรงดึง โดยการประยุกต์ใช้สมการจากทฤษฎีสตริง (เส้นลวดตึง) ผลการศึกษาพบว่า มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยระหว่างแรงดึงของลวดอัดแรงในคานสะพานช่วงที่ถูกเพลิงไหม้ เมื่อเปรียบเที...
  • type-icon

    ความโปร่งใสในการก่อสร้างภาครัฐ (Construction Sector Transparency Initiative: CoST) โครงการย่อย โครงการจ้างที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบข้อมูล (Assurance Team) การดำเนินงานโครงการความโปร่งใสในการก่อสร้างภาครัฐ (Construction Sector Transparency Initiative: CoST) 

    ธีร เจียศิริพงษ์กุล; วินัย รักสุนทร; ดามพ์เมษ บุณยะเวศ; กรกมล ตันติวนิช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

    โครงการความโปร่งใสในการก่อสร้างภาครัฐ (Construction Sector Transparency : CoST) เป็นโครงการที่ริเริ่มโดย Department for International Development ของประเทศอังกฤษ ภายใต้ การสนับสนุนจากธนาคารโลกในปี พ.ศ. 2550 ปัจจุบันมีสมาชิก 15 ประเทศ ได้แก่ อัฟกานิสถาน เอลซัลวาดอร์ เอธิโอเปีย กัวเตมาลา ฮอนดูรัส มาลาวี บอตสวานา ฟิลิปปินส์ แทนซาเนีย ยูกันดา ยูเครน เวียดนาม แซมเบีย อังกฤษ และประเทศไทย ทั้งนี้ หลักการสร้างความโปร่งใสในโครงการก่อสร้างภาครัฐ ได้รับการวางระบบให้มีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับโครงการก่อสร้างสู่สาธารณชนในทุกระยะที่ดำเนินการ พร้อมทั้งมีกระบว...
  • type-icon

    จ้างที่ปรึกษาเพื่อจัดทำคู่มือการตรวจสอบสะพานกาญจนาภิเษก 

    กฤดายุทธ์ ชมภูมิ่ง; สายันต์ ศิริมนตรี; บุรฉัตร ฉัตรวีระ; นรินทร์ วัฒนกุล; วชิรา พรหมสาขา ณ สกลนคร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

    การจัดทำคู่มือการตรวจสอบสะพานกาญจนาภิเษกในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการตรวจสอบสะพานกาญจนาภิเษกสามารถดำเนินการได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม มีการสำรวจ เก็บบันทึกข้อมูล และติดตามผลการปฏิบัติงานซึ่งจะทำให้การตรวจสอบ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาสะพานเป็นไปอย่างต่อเนื่องให้สะพานมีความมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย มีอายุการใช้งานยาวนานต่อไป และเป็นการบริหารทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดในระยะยาว คู่มือการตรวจสอบสะพานกาญจนาภิเษก ประกอบด้วยข้อมูลทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องของสะพาน องค์ประกอบและรหัสชิ้นส่วนของโครง...
  • type-icon

    ตรวจสอบและประเมินโครงสร้างสะพานกรมทางหลวง 

    สายันต์ ศิริมนตรี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

    รายงานฉบับนี้นำเสนอผลการตรวจวัดที่เป็นมาตรการหนึ่งในการวางแผนการเคลื่อนผ่านรถบรรทุกน้ำหนักพิเศษเพื่อขนส่งอุปกรณ์ Generator สำหรับนำไปก่อสร้างโรงงานกำเนิดไฟฟ้าไปยังประเทศ สปป. ลาว ตามสายทางที่ได้ขออนุญาตพิเศษจากกรมทางหลวง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาการใช้งานได้อย่างปลอดภัย ทั้งนี้ในขั้นต้นได้มีการวางเส้นทางการเดินรถผ่านสะพานอันประกอบไปด้วย สะพานข้ามแม่น้ำวังทอง Box Beam - Span Test 10 ม. , สะพานข้ามแม่น้ำแควน้อย I-Girder - Span Test 30 ม., สะพานข้ามแม่น้ำแควน้อย Slab Type - Span Test 10 ม., สะพานข้ามคลองตรอน กม. 25+971 Plank Slab - Spa...
  • type-icon

    การศึกษาแรงลมโครงการแอชตัน สีลม โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม (WIND LOAD STUDY FOR ASHTON SILOM PROJECT BY WIND TUNNEL TEST) 

    วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

    วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการ Ashton Silom โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช้กระจกที่บางลงได้ คอนโดมิเนียม Ashton Silom ที่ศึกษาเป็นอาคารสูง 55 ชั้น มีความสูง 186.95 ม. กว้าง 29.67 ม. ลึก 54.14 ม. อาคารตั้งอยู่บนถนนสีลม กรุงเทพมหานคร อาคารที่ศึกษาต้องมีก...
  • type-icon

    การศึกษาแรงลมโครงการคอนโดมิเนียม ASHTON โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม 

    วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

    วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการ คอนโดมิเนียม แอชตัน อโศก โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช้กระจกที่บางลงได้ คอนโดมิเนียม แอชตัน อโศก ที่ศึกษาเป็นอาคารสูงเทียบเท่า 193 ม. กว้าง 20.21 ม. ลึก 79.38 ม. อาคารตั้งอยู่บนถนนอโศก มนตรี กรุงเทพมหานคร อาคารที่ศึกษาต...
  • View more