เตรียมโฟมพอลิเมอร์เชิงประกอบจากพอลิแลคติกแอซิดผสมพอลิบิวทิลีนซัคซิเนตกับเส้นใยไมซีเลียมสังเคราะห์เพื่อประยุกต์ใช้เป็นถ้วยและฝาปิดสำหรับเครื่องดื่มร้อน
by ชิราวุฒิ เพชรเย็น
เตรียมโฟมพอลิเมอร์เชิงประกอบจากพอลิแลคติกแอซิดผสมพอลิบิวทิลีนซัคซิเนตกับเส้นใยไมซีเลียมสังเคราะห์เพื่อประยุกต์ใช้เป็นถ้วยและฝาปิดสำหรับเครื่องดื่มร้อน | |
Preparation and Foaming Behavior of Poly (lactic acid)/Poly (butylene succinate)/Synthesized Mycelium Fiber Composite for Hot Cup and Lids application | |
ชิราวุฒิ เพชรเย็น | |
สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
2018 | |
สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเตรียมและการวิเคราะห์วัสดุเชิงประกอบมัลติวอลล์คาร์บอนนาโนทิวบ์/ไททาเนียมไดออกไซด์ โดยการสังเคราะห์วัสดุเชิงประกอบด้วยวิธีการโซลเจล (sol-gel) เพื่อนำไปปรับปรุงขั้วไฟฟ้าใช้งานที่ขึ้นรูปด้วยวิธีพิมพ์สกรีน ซึ่งการสังเคราะห์ใช้อัตราส่วนของมัลติวอลล์คาร์บอนนาโนทิวบ์/ไททาเนียมไดออกไซด์ที่แตกต่างกัน ได้แก่ 1:1 1:2 และ 2:1 จากนั้นเผาที่อุณหภูมิ 450 500 550 600 650 องศาเซลเซียส และศึกษาการนำไฟฟ้าด้วยวิธีไซคลิกโวแทมเมตรี โดยจะเปรียบเทียบขั้วไฟฟ้าที่ปรับปรุงด้วยวัสดุเชิงประกอบกับขั้วไฟฟ้าเปล่า และขั้วไฟฟ้าที่ปรับปรุงด้วยคาร์บอนบริสุทธิ์พบว่า การนำไฟฟ้าของขั้วไฟฟ้าที่ปรับปรุงด้วยวัสดุเชิงประกอบมัลติวอลล์คาร์บอนนาโนทิวบ์/ไททาเนียมไดออกไซด์ อัตราส่วน 2:1 เผาที่อุณหภูมิ 550 องศาเซลเซียส มีการนำไฟฟ้าได้สูงที่สุด เนื่องจากมีปริมาณของคาร์บอนนาโนทิวบ์มากกว่าและมีความเสถียรภาพดีที่สุดเมื่อมีการวัดซ้ำหลายๆครั้ง นอกจากนี้ยังศึกษาการตอบสนองของขั้วไฟฟ้ากับกรดยูริกและกรดแอสคอร์บิกด้วยวิธีไซคลิกโวลแทมเมตรี พบว่าขั้วไฟฟ้าที่ปรับปรุงด้วยวัสดุเชิงประกอบมีการตอบสนองต่อกรดยูริกและกรดแอสคอร์บิกดี ได้พีคที่ชัดเจนเมื่อเทียบกับขั้วไฟฟ้าเปล่า นอกจากนี้ยังศึกษาการตอบสนองของกรดยูริกผสมกับกรดแอสคอร์บิกด้วยวิธีสแควร์เวฟโวลแทมเมตรี พบว่า ขั้วไฟฟ้าที่ปรับปรุงด้วยวัสดุเชิงประกอบจะสามารถแยกพีคของกรดทั้งสองได้เมื่อเทียบกับขั้วไฟฟ้าเปล่า |
|
โฟมพอลิเมอร์เชิงประกอบ | |
บทความ | |
Text | |
application/pdf | |
tha | |
เอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร | |
สงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
สถาบันพลาสติก. อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ | |
https://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/522 |
Files in this item (CONTENT) |
|
View no fulltext.doc ( 21.50 KB ) |
This item appears in the following Collection(s) |
|
Collections
|