Show simple item record

dc.contributor.authorกฤดายุทธ์ ชมพูมิ่ง
dc.contributor.authorสายันต์ ศิริมนตรี
dc.contributor.authorบุรฉัตร ฉัตรวีระ
dc.contributor.authorนรินทร์ วัฒนกุล
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2018-11-06T07:41:35Z
dc.date.available2018-11-06T07:41:35Z
dc.date.issued2016
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/471
dc.description.abstractในปัจจุบันโครงสร้างสะพานขนาดใหญ่หลายแห่งได้มีการใช้งานมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน ส่งผลให้สภาพการใช้งานของโครงสร้างมีการเปลี่ยนแปลงและแตกต่างไปจากสภาวะหรือเงื่อนไขที่พิจารณาในการออกแบบและก่อสร้างสะพาน นอกจากนี้สะพานยังเกิดการเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งานที่เพิ่มขึ้นและมีความชำรุดเสียหาย ส่งผลกระทบโดยตรงต่อความสามารถในการใช้งาน (Serviceability) และความมั่นคงแข็งแรง (Strength) ตลอดจนอายุการใช้งานหรือความทนทานของสะพาน (Durability) รวมถึงความปลอดภัยและความพอใจของผู้ใช้สะพาน (Public Safety and Comfort) จึงมีความจำเป็นในการพัฒนาแบบจำลองและระบบตรวจวิเคราะห์ความมั่นคงแข็งแรงสะพานเพื่อให้ทราบถึงความชำรุดเสียหายรวมถึงความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นของโครงสร้างสะพาน รวมถึงความสามารถและความปลอดภัยในการใช้งานในสภาพที่เป็นปัจจุบันของโครงสร้างสะพาน ซึ่งจะส่งผลให้การบริหารจัดการในด้านการบำรุงรักษาสะพานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพการใช้งานที่เป็นอยู่จริง โดยมีวัตถุประสงค์ประกอบด้วย (1) เพื่อศึกษาให้ทราบพฤติกรรมในสภาพที่เป็นปัจจุบันของโครงสร้างสะพานและความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากความชำรุดเสียหาย (2) เพื่อพัฒนาแบบจำลองในการวิเคราะห์และประเมินความสามารถในการรับน้ำหนักบรรทุกของโครงสร้างสะพาน (3) เพื่อพัฒนาระบบตรวจวิเคราะห์ความมั่นคงแข็งแรงในการตรวจสอบ ติดตามและประเมินความสามารถในการใช้งานของโครงสร้างสะพานแต่ละแห่งอย่างมีประสิทธิภาพ และ (4) เพื่อให้ได้แนวทางการบริหารจัดการสำหรับการซ่อมแซมและบำรุงรักษาสะพานอย่างต่อเนื่อง โดยการดำเนินงานในระยะที่ 1 ประกอบด้วยสะพานจำนวน 5 สะพาน ได้แก่ สะพานกรุงเทพ สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน สะพานพระปกเกล้า และ สะพานพระราม 7th
dc.description.abstractA number of large bridge structures are aging and have been under service for a long period of time. In many circumstances, these bridges have been operated under different conditions as considered and covered during the design and construction stages. Furthermore, they are vulnerable to structural deterioration and damages which have direct impacts on serviceability, strength and durability of the bridge structures as well as concerns on public safety and comfort. A development of bridge structural models and health evaluation system for damage assessment and structural performance evaluation of existing bridge structures under actual physical and operating conditions has been playing an important role in bridge corrective and preventive maintenance. The objectives of the present investigation consist of (1) to assess structural damages and deficiencies of existing bridge structures, (2) to develop a FE model for bridge structural analysis and load-carrying capacity evaluation, (3) to develop an efficient system for structural monitoring and evaluation of the bridge structures, and (4) to develop bridge maintenance program and operating plan. The bridge structures considered in Phase I of the project include Krungtep Bridge, Phra Pin Klao Bridge, Taksin Bridge, Phra Pok Klao Bridge and Rama VII Bridge.th
dc.description.sponsorshipกรมทางหลวงชนบท
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectแบบจำลองth
dc.subjectโครงสร้างสะพานth
dc.titleพัฒนาแบบจำลองและระบบตรวจวิเคราะห์ความมั่นคงแข็งแรงสะพาน ระยะที่ 1
dc.title.alternativeDevelopment of Structural Model and Bridge Evaluation System (Phase 1)
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rights.holderกรมทางหลวงชนบท
cerif.cfProj-cfProjId2559A00105
mods.genreบทความ
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาอุตสาหกรรมก่อสร้าง (Building sector : BU)
turac.contributor.clientกรมทางหลวงชนบท
turac.fieldOfStudyสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record