Show simple item record

dc.contributor.authorศรุต อำมาตย์โยธิน
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2018-01-30T03:16:37Z
dc.date.available2018-01-30T03:16:37Z
dc.date.issued2017
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/369
dc.description.abstractวัสดุเชิงประกอบของแบคทีเรียเซลลูโลส เตรียมได้จากแบคทีเรียเซลลูโลส และพอลิอะนีลีนโดยที่สารละลายพอลิอะนิลีนจะเข้าไปแทรกตามรูพรุนในโครงสร้างของแบคทีเรียเซลลูโลสที่มีขนาดระดับนาโน พอลิอะนิลีนเป็นที่นิยมและมีการนำมาประยุกต์ใช้งานอย่างแพร่หลาย เนื่องจากพอลิอะนิลีนจะแสดงสมบัติเป็นสารกึ่งตัวนำ จึงนำไปสู่อุตสาหกรรมการพัฒนาวัสดุเชิงประกอบสาหรับเซลล์แสงอาทิตย์ โดยตรวจสอบลักษณะโครงสร้างด้วยเทคนิค Fourier Transform Infrared Spectroscopy (FT-IR) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเกิดพันธะไฮโดรเจน (H-bond) ระหว่างแบคทีเรียเซลลูโลสกับพอลิอะนิลีน ตรวจสอบตำแหน่งพีคและระนาบผลึกด้วยวิธี X-Ray Diffraction (XRD) และตรวจสอบความขรุขระของพื้นผิววัสดุเชิงประกอบด้วยเทคนิค Atomic Force Microscope (AFM) นอกจากนี้ยังตรวจสอบสมบัติทางความร้อน และสมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุเชิงประกอบ เพื่อแสดงลักษณะที่ดีในการนำไปประยุกต์ใช้งานเป็นซับสเตรทสำหรับเซลล์แสงอาทิตย์th
dc.description.abstractBacterial cellulose and polyaniline was successfully designed as a composite material. Polyaniline was inserted into porous structure of bacterial cellulose network. The existence of polyaniline was presented as a polar cluster, owing to strong polarity when external electric field was applied. Structural characterization by means of FTIR illustrated that H-bond formation between bacterial cellulose and polyaniline was occurred. XRD presented that no phase of polyaniline was existed on the surface of composite. Composite also exhibited the uniformity surface with an average of roughness of 200 nm. It also presented the excellent characteristic of thermal stability. The preliminary experiment on frequency dependence on dielectric properties was evaluated. Composite was remarkably exhibited as a strong candidate material as a flexible substrate for Solar cell.th
dc.description.sponsorshipสถาบันพลาสติก
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectแบคทีเรียเซลลูโลสth
dc.subjectวัสดุเชิงประกอบth
dc.subjectเซลล์แสงอาทิตย์th
dc.subjectBacterial celluloseth
dc.subjectCompositeth
dc.subjectSolar Cellth
dc.titleการแปรรูปวัสดุชีวมวลจากเส้นใยธรรมชาติเพื่อการประยุกต์ใช้งานเป็นแผ่นซับสเตรทของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
dc.title.alternativeDevelopment of cellulose base composite for electronic substrate
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rights.holderสถาบันพลาสติก
cerif.cfProj-cfProjId2560A00180
mods.genreบทความ
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาอุตสาหกรรม (Industry sector : IN)
turac.contributor.clientสถาบันพลาสติก
turac.fieldOfStudyวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record