Show simple item record

dc.contributor.authorอภิวัฒน์ มุตตามระ
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2014-10-13T08:04:47Z
dc.date.available2014-10-13T08:04:47Z
dc.date.issued2013
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/14
dc.description.abstract" Promoting the participation of civil society” is a Project conducted under the Strategic Plan developed bureaucracy Thailand ( 2555 - 2558) , who have given the importance and adherence to the philosophy, principles and practices of the public as a " hub " to work fine. changing role of government to support and facilitate . Collaborate with the political administration to achieve maximum benefit to the country, including the availability and attitudes to work as a network partnership with other sectors in society geared towards excellence proactive. Looking ahead The initiative and innovation The work of government must have clear goals in their work, can be monitored the achievement by the self-regulatory system and entrenched in dignity and decency. Implementation of the project a strategy in the development of the bureaucratic Ministry of Industry. To the administration involved to guide for promoting the participation of the people. The Office of the industry in 25 provinces to apply the same standard as well as to stimulate and encourage the great masters (Best Practice) to open to the public. And to survey public opinion and operators to the operations of the industry, particularly in encouraging people and entrepreneurs can conduct business more efficiently.en
dc.description.abstractโครงการ “ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เป็นโครงการที่จัดทำขึ้นภายใต้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘) ที่ได้ให้คุณค่าความสำคัญและยึดมั่นในปรัชญา หลักการ และแนวทางของการให้ประชาชนเป็น “ศูนย์กลาง” ในการทำงาน ปรับเปลี่ยนบทบาทของราชการให้เป็นผู้สนับสนุนและอำนวยความสะดวก ประสานการทำงานกับผู้บริหารราชการแผ่นดินฝ่ายการเมือง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศรวมทั้งมีความพร้อมและทัศนคติในการทำงานเป็นเครือข่ายร่วมมือกับภาคอื่นๆ ในสังคม มุ่งสู่ความเป็นเลิศทำงานเชิงรุก มองไปข้างหน้า สามารถคิดริเริ่มและสร้างนวัตกรรม ทั้งนี้การทำงานของภาครัฐต้องมีเป้าหมายในการทำงานที่ชัดเจน สามารถตรวจสอบวัดผลสัมฤทธิ์ได้ มีระบบกำกับดูแลตนเองที่ดี และตั้งมั่นอยู่ในศักดิ์ศรีและความดีงาม การดำเนินโครงการฯ ดังกล่าวเพื่อวางยุทธศาสตร์ในการพัฒนาระบบราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม สู่การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม และจัดทำคู่มือส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ให้สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ๒๕ จังหวัด นำไปใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้ง ต้องการกระตุ้นและผลักดันให้เกิดต้นแบบที่ดี (Best Practice) ในการเปิดโอกาสให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารงานของสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม และเพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนและผู้ประกอบการต่อการดำเนินงานของกระทรวงอุตสาหกรรมโดยเฉพาะในการส่งเสริมให้ประชาชนและผู้ประกอบการสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นth
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนth
dc.subjectการพัฒนาระบบราชการth
dc.subjectสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมth
dc.subjectการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมth
dc.titleส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคประชาชนสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
cerif.cfProj-cfProjId2556A00245
mods.genreรายงานวิจัย
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาอุตสาหกรรม (Industry sector : IN)
turac.contributor.clientสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
turac.fieldOfStudyสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

FilesSizeFormatView

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record