Now showing items 1-5 of 5

    • type-icon

      จัดทำรายงานอุตสาหกรรมไมซ์ (MICE Industry Reports) 

      ชนินทร์ มีโภคี; Chanin Mephokee (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      การศึกษาวิจัยโครงการจัดทำรายงานอุตสาหกรรมไมซ์ (MICE Industry Reports) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพ และแนวโน้มการเติบโตของอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศไทย ประกอบด้วย อุตสาหกรรมหุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม (Robotics) อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub) และอุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ (Aviation and Logistics) โดยศึกษาภาพรวมและทิศทางการเติบโต ตลอดจนการแข่งขันของอุตสาหกรรมในระดับนานาชาติ รวมทั้งวิเคราะห์จุดเชื่อมโยงที่อุตสาหกรรมไมซ์สามารถเข้าไปสนับสนุนขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมายทั้ง 3 อุตสาหกรรม ทั้งนี้ เพื่อนำผลการศึกษาเผยแพร่ข้อมูลให้แก ...
    • type-icon

      ประเมินผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไมซ์ไทยจากการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 

      ประภัสสร์ เทพชาตรี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      การวิเคราะห์ผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ต่ออุตสาหกรรมไมซ์มีความสำคัญเนื่องจากความตกลง AEC เป็นความตกลงที่มีเงื่อนไขของการเปิดเสรีที่กว้างขวางกว่าความตกลงเปิดเสรีทางการค้า กล่าวคือ มีเนื้อหาสาระครอบคลุมไม่เพียงแต่การเปิดให้สินค้าสามารถเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนได้โดยมีอุปสรรคน้อยที่สุดหรือไม่มีเลย แต่เปิดให้มีการค้าบริการได้อย่างเสรีมากขึ้น มีการเคลื่อนย้ายของเงินทุนระหว่างประเทศสะดวกขึ้น และเปิดเสรีทางด้านการลงทุนมากขึ้นด้วย ประกอบกับการที่อุตสาหกรรมไมซ์เป็นอุตสาหกรรมที่ได้รับความสนใจมากขึ้นในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาจากเดิมที่เคยเป ...
    • type-icon

      ยกระดับขีดความสามารถของสำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) เพื่อขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาระดับพื้นที่ 

      อรพรรณ คงมาลัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-06)

      อุตสาหกรรมไมซ์เป็นอุตสาหกรรมที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับประเทศสูง เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่ผนวกเรื่องการเดินทางและการทำงาน/ประกอบธุรกิจ ทำให้เกิดประโยชน์อย่างน้อย 2 ประการได้แก่ 1) เกิดการใช้จ่ายของนักเดินทางไมซ์และการจ้างงานเพื่อจัดกิจกรรมการจัดประชุม/สัมมนา/นิทรรศการ/การท่องเที่ยวต่างๆ ซึ่งนักเดินทางไมซ์เป็นนักเดินทางธุรกิจย่อมมีการใช้จ่ายในอัตราสูงกว่าการท่องเที่ยวแบบทั่วไป และ 2) เป็นโอกาสในการสนับสนุน ความโดดเด่นของธุรกิจ/อุตสาหกรรมของเมืองที่จัดงานให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ปัจจุบันอุตสาหกรรมไมซ์กระจุกตัวอยู่ในกรุงเทพมหานครและปริมาณฑล ...
    • type-icon

      ศึกษาศักยภาพในการจัดงานแสดงสินค้านานาชาติของอุตสาหกรรมการบิน 

      ชนินทร์ มีโภคี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-06)

      การเติบโตอย่างต่อเนื่องของอุตสาหกรรมการบินโลกทั้งระดับโลกและระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นปัจจัยส่งเสริมให้อุตสาหกรรมการบินของไทยเติบโต เนื่องจากประเทศไทยมีความได้เปรียบจากตำแหน่งที่ตั้งซึ่งตั้งอยู่ในศูนย์กลางภูมิภาคอาเซียนตอนบน รายรอบด้วยประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ซึ่งภาคการท่องเที่ยวและการค้าการลงทุนขยายตัวในอัตราที่สูง ส่งผลให้ปริมาณการขนส่งผู้โดยสารและการขนส่งสินค้าทางอากาศของไทยขยายตัวอย่างต่อเนื่อง นำไปสู่การขยายตัวของความต้องการซื้อเครื่องบินและมูลค่าการซ่อมบำรุงเครื่องบิน รวมทั้งนำไปสู่การขยายตัวของมูลค่าการค้าระหว่างประเทศของชิ้นส่วนอากาศยาน ...
    • type-icon

      ศึกษาและจัดทำแผนพัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการให้บริการตามมาตรฐานที่ สสปน. 

      ชัยวัฒน์ อุตตมากร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-06)

      1) สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ สสปน. เป็นหน่วยงานภาครัฐที่มีพันธกิจในการเพิ่มรายได้เข้าประเทศไทย และสร้างศักยภาพทางการแข่งขันในอุตสาหกรรมไมซ์ของไทยสู่การแข่งขันในตลาดโลก โดยหนึ่งในภารกิจของ สสปน. คือ การสนับสนุนแก่หน่วยงานต่างๆ ในการจัดการประชุมการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล และการจัดนิทรรศการในประเทศไทยตามระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการว่าด้วยการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ พ.ศ. 2555 2) คำรับรองการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ของ สสปน. ตัวชี้วัดที่ 3.4 ระดับความสำเร็จในการด ...