Show simple item record

dc.contributor.authorอนุชา ทีรคานนท์th
dc.date.accessioned2020-11-12T02:54:06Z
dc.date.available2020-11-12T02:54:06Z
dc.date.issued2563-11-12
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/931
dc.description.abstractความสืบเนื่องของพัฒนาการในอดีตของเมืองสุโขทัย-ศรีสัชนาลัย ส่งผลให้พื้นที่ประวัติศาสตร์นี้กลายเป็นอู่อารยธรรมและที่หลอมรวมของศิลปกรรมหลายยุคหลายสมัย ลวดลายและรูปแบบศิลปกรรมในประวัติศาสตร์ ถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมให้คนชนหลังได้เรียนรู้ ซึมซับและบังเกิดเป็นแรงบันดาลใจให้กับงานหัตถศิลป์แขนงต่าง ๆ ในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานเครื่องทองอนุวิจิตรของช่างชาวศรีสัชนาลัย เครื่องทองจากแหล่งผลิตที่ศรีสัชนาลัยนี้ ล้านเป็นเครื่องทองผลิตขึ้นรูปและสร้างลวดลายด้วยกรรมวิธีที่สืบทอดกันมา จัดเป็นงานช่างหัตถกรรมที่มีอัตลักษณ์งดงาม มีองค์ประกอบเฉพาะของช่างพื้นถิ่น เช่น การถักเส้นทองแบบต่าง ๆ การประดับเม็ดไข่ปลา การขึ้นลายด้วยลวดเกลียว และการลงยาสีอันเป็นกรรมวิธีการผลิตที่เสริมเติมแต่งให้เครื่องทองมีความงดงามมากขึ้นในยุคหลัง ลวดลายที่เป็นหลักในการสร้างลวดลายที่ได้แรงบันดาลใจในการผลิต คือ ลายเครือวัลย์ ซึ่งเป็นลายประดับผนังวิหารวันนางพญา ซึ่งสร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๙ สำหรับกรรมวิธีการผลิตที่ช่างทองส่วนใหญ่ใช้ ได้แก่ การติดลาย การถัก การฉลุ และการลงยาสี The continuity of the ancient history of Sukhothai is important background of the gold of Sukhothai. The unique art forms and motifs decorating the architectures and artworks from different periods are the inspiration for the goldsmiths to create their contemporary jewelry with traditional methods. The gold wire weaving, granulating, wire twisting, and enameling are major methods employed by the goldsmiths. One of the important motifs is called “lai kruewan” of floral motif. This pattern was taken from the stucco relief decorating the external wall of the grand hall of Wat Nang Paya in the Si Satchanalai Historial Park. The general techniques of the handmade gold jewelry of Si Satchanalai include soldering, wiring, perforating, and enameling.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์th
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยผู้ให้ทุน ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรth
dc.subjectเครื่องประดับโบราณth
dc.subjectจังหวัดสุโขทัยth
dc.subjectเทคนิคการผลิตและลวดลายเครื่องประดับโบราณth
dc.titleศึกษาและรวบรวมองค์ความรู้ด้านเทคนิคการผลิตและลวดลายเครื่องประดับโบราณ (จังหวัดสุโขทัย)th
dc.title.alternativeStudy of Goldsmithing Techniques in Sukhothai Provinceth
dc.typeTextth
dcterms.accessRightsบุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงเอกสารนี้ได้th
dc.rights.holderสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน)th
cerif.cfProj-cfProjId2563A00009th
mods.genreรายงานวิจัยth
turac.projectTypeโครงการที่ปรึกษาth
turac.researchSectorสาขาเบ็ดเตล็ด (Miscellaneous sector : MS)th
turac.contributor.clientสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
turac.fieldOfStudyสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์th
cerif.cfProj-cfTitleศึกษาและรวบรวมองค์ความรู้ด้านเทคนิคการผลิตและลวดลายเครื่องประดับโบราณ (จังหวัดสุโขทัย)th
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการth


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record