Now showing items 21-35 of 35

    • Thumbnail

      ปรับปรุง Backup Site ของกรมทางหลวงชนบท 

      ทวีศักดิ์ กิจกาญจนารัตน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)
    • type-icon

      จ้างที่ปรึกษาพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลโครงการเงินกู้เพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและระบบขนส่งทางถนน ระยะเร่งด่วน 

      ชัยวัฒน์ อุตตมากร; วีริศ อัมระปาล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      โครงการจ้างที่ปรึกษาพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลโครงการเงินกู้เพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและระบบขนส่งทางถนน ระยะเร่งด่วน มีวัตถุประสงค์ดังนี้ • เพื่อยกระดับคุณภาพงานวางแผน ติดตามและประเมินผลโครงการเงินกู้ฯ ของกรมทางหลวงชนบท • เพื่อประเมินผลลัพธ์ความเชื่อมั่นและความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการดำเนินงานโครงการเงินกู้ฯ • เพื่อพัฒนาระบบงานในการติดตามความก้าวหน้าของโครงการ โดยใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการสำรวจ จัดเก็บ วิเคราะห์ แสดงผล และจัดทำรายงานข้อมูลเชิงพื้นที่และเพิ่มประสิทธิภาพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกร ...
    • type-icon

      พัฒนาสายทางเพื่อสนับสนุนการขนส่งสินค้าเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมผ่านรถไฟรางคู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 

      วีริศ อัมระปาล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีความคาดหวังว่าจะมีการขนส่งสินค้าผ่านประเทศไทยมากขึ้น ทั้งนี้รัฐบาลมีโครงการที่สนับสนุนด้านการคมนาคมขนส่งหลากหลายโครงการ หนึ่งในนั้น คือ การก่อร้างรถไฟรางคู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งจะส่งผลต่อการลดต้นทุนการขนส่งได้อย่างมาก อย่างไรก็ตาม การขนส่งสินค้ามีโซ่อุปทานเริ่มจากแหล่งเพาะปลูกไปยังโรงงานแปรรูปส่งต่อไปยังผู้บริโภค ซึ่งการขนส่งสินค้าจากแหล่งผลิต มักใช้เส้นทางของกรมทางหลวงชนบท ที่มักไม่มีการออกแบบเพื่อรองรับการบรรทุกหนักส่งผลต่อการเสื่อ ...
    • type-icon

      การศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่งและกระจายผลิตภัณฑ์ โดยพัฒนาขั้นตอนวิธี และแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับการจัดเที่ยวรถ (Vehicle Routing Problem Algorithm) 

      วุฒิชัย วงษ์ทัศนีย์กร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      ปัจจุบันการบริหารจัดการขนส่งและโซ่อุปทาน จัดเป็นเรื่องที่มีผลกระทบต่อวงการอุตสาหกรรมระดับประเทศทั้งทางด้านอุตสาหกรรมภาคการผลิตและอุตสาหกรรมภาคการบริการรัฐบาล ซึ่งการขนส่งจัดเป็นต้นทุนที่สำคัญตัวหนึ่งสำหรับอุตสาหกรรมในปัจจุบัน โดยหลักการสำคัญของการขนส่งคือการส่งที่ถูกสถานที่ด้วยเวลาที่เหมาะสม เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้ามากที่สุด เนื่องจากสภาพการแข่งขันที่สูงและความสลับซับซ้อนในภาคธุรกิจ ทำให้รูปแบบในการขนส่งสินค้ามีความหลากหลายและมีข้อจำกัดด้านการขนส่ง เช่น ต้องจัดส่งสินค้าให้ลูกค้าหลายแห่ง มีข้อจำกัด ด้านเวลา เนื่องจากความต้องการของลูกค้าข ...
    • type-icon

      พัฒนาแบบจำลองและระบบตรวจวิเคราะห์ความมั่นคงแข็งแรงสะพาน ระยะที่ 3 

      กฤดายุทธ์ ชมภูมิ่ง (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      ในปัจจุบันสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งเป็นโครงสร้างขนาดใหญ่และอยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบทหลายแห่งได้มีการใช้งานมาอย่างต่อเนื่องยาวนานและรองรับปริมาณการจราจรและน้ำหนักบรรทุกที่เพิ่มมากขึ้นทุกๆ ปี จึงทำให้โครงสร้างสะพานเกิดการเสื่อมสภาพและมีความชำรุดเสียหาย การตรวจสอบและประเมินความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างสะพานเหล่านี้จึงมีความสำคัญเพื่อให้ทราบถึงสภาพความชำรุดเสียหายและความสามารถในการรับน้ำหนักบรรทุกของโครงสร้างในสภาพปัจจุบัน กรมทางหลวงชนบทซึ่งมีหน้าที่ในการดูแลและบำรุงรักษาสะพานจึงได้ริเริ่มและดำเนินโครงการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาระบบต ...
    • type-icon

      สำรวจและวิเคราะห์สภาพทางหลวงผิวลาดยางและผิวคอนกรีต 

      อุรุยา วีสกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      ปัจจุบันกรมทางหลวงมีโครงข่ายทางหลวงทั่วประเทศเป็นระยะทางในความรับผิดชอบกว่า 70,077.043 กิโลเมตร (ต่อ 2 ช่องจราจร) และด้วยสภาพความเสียหายของถนนในโครงข่ายของกรมทางหลวงมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา กรมทางหลวงจึงต้องทำการสำรวจสภาพเส้นทางในความรับผิดชอบเป็นประจำทุกปี และนำข้อมูลสำรวจสภาพทางมาจัดทำเป็นระบบฐานข้อมูลกลาง (Central Road Database, CRDB) และระบบสารสนเทศโครงข่ายทางหลวง (Road Net) เพื่อใช้สำหรับการสืบค้นวิเคราะห์ การให้บริการข้อมูลต่อหน่วยงานอื่น และการเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศอื่น ๆ โดยการนำเข้าข้อมูลการสำรวจที่กรมทางหลวงได้นำระบบบริหารงานบำรุงทาง ...
    • type-icon

      เพิ่มประสิทธิภาพระบบการติดตามการบริหารงานบำรุงปกติ 

      อุรุยา วีสกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      การปรับปรุงระบบหมายเลขทางหลวงทุกสายทางทั่วประเทศ ส่งผลให้ข้อมูลทางหลวงเปลี่ยนแปลงไปจากบัญชีสายทางเดิมในฐานข้อมูลกลางงานบำรุงทาง สำนักบริหารบำรุงทางจึงได้ทำการปรับปรุงข้อมูลในระบบฐานข้อมูลกลางงานบำรุงทางให้เป็นระบบหมายเลขทางหลวงใหม่ ตลอดจนได้ปรับปรุงรายละเอียดรหัสงาน งานพัฒนาทางหลวง งานบำรุงรักษาทาง และงานอำนวยความปลอดภัย รองรับลักษณะการทำงานที่เปลี่ยนไป อีกทั้งได้ทำการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพระบบสารสนเทศทรัพย์สินทางหลวงให้เชื่อมโยงกับฐานข้อมูลทรัพย์สินตามบัญชีสายทางใหม่ โดยการปรับปรุงระบบดังกล่าวส่งผลให้เจ้าหน้าที่ในส่วนกลางสามารถใช้งานได้ง ...
    • type-icon

      ศึกษาหลักเกณฑ์และเหตุอันควรในการพิจารณาติดตั้งอุปกรณ์อำนวยความปลอดภัยบนทางหลวง เพื่อเพิ่มความปลอดภัยแก่ผู้ใช้ทาง 

      วินัย รักสุนทร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      หลักเกณฑ์และเหตุอันควรที่มีความเหมาะสมสําหรับการติดตั้งอุปกรณ์อํานวยความปลอดภัยบนท้องถนน จะส่งผลให้ทางหลวงมีความปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น ลดจํานวนและความรุนแรงของอุบัติเหตุ เกิดความคล่องตัวของการจราจรเป็นไปอย่างเหมาะสมตามความจุที่ออกแบบไว้อีกทั้งยังสามารถใช้เป็นเกณฑ์ช่วยในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณอีกด้วย
    • type-icon

      ศึกษาความเร็วปลอดภัยบนทางหลวงเพื่อการกำหนดความเร็วที่เหมาะสม 

      วินัย รักสุนทร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      จากการสำรวจความเร็วของยานพาหนะบนทางหลวง จำนวน 380 จุดสำรวจพบว่า ผู้ขับขี่จำนวนมากไม่สามารถขับขี่ภายใต้ความเร็วที่กฎหมายกำหนด และมีการกระจายตัวของความเร็วมากจนเกินไป ซึ่งอาจส่งผลให้โอกาสของการเกิดอุบัติเหตุบนทางหลวงสูงขึ้นได้ นั่นเป็นผลสืบเนื่องมาจากค่าความเร็วจำกัดที่บังคับใช้ในปัจจุบันมีความไม่เหมาะสมกับทางหลวงในประเทศไทย ควรมีการนำลักษณะกายภาพของถนนไปเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณากำหนดความเร็วจำกัด นอกจากปัจจัยหลักที่นำไปใช้อ้างอิงในปัจจุบัน (เขตชุมชนและเขตนอกเมือง) สำหรับการศึกษาพฤติกรรมการใช้ความเร็ว ณ ตำแหน่งจุดเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุพบว่า ...
    • type-icon

      ศึกษาและประเมินการเพิ่มประสิทธิภาพมาตรฐานการเคลื่อนตัวของจราจรบริเวณทางแยกระยะที่ 1 

      วินัย รักสุนทร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      งานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาเพื่อหาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทางแยกในพื้นที่เขตเมืองที่มีลักษณะเป็นโครงข่าย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ซึ่งการศึกษาพบว่า ระบบการควบคุมการจราจรแบบทำงานประสานสัมพันธ์กันที่มีระบบปรับเปลี่ยนตามสภาพการจราจร (บน 5 ทางแยกบนถนนประเสริฐมนูกิจ) ช่วยทำให้ระบบการควบคุมทางแยกทำงานได้ดีขึ้น ช่วยลดการทำงานของตำรวจจราจรลดลงจากเดิมที่เคยทำงาน 13 ชั่วโมงต่อวันเหลือเพียง 8 ชั่วโมงต่อวันในวันธรรมดา (คิดเป็นลดลงร้อยละ 37.7) และลดจาก 7 ชั่วโมงต่อวันเป็นเหลือเพียง 2 ชั่วโมงต่อวันในวันอาทิตย์ (คิดเป็นร้อยละ 71.4) ...
    • type-icon

      ศึกษาแผนพัฒนาสายทางเพื่อสนับสนุนการขนส่งสินค้าและบริการผ่านรถไฟทางคู่สายลพบุรี-ปากน้ำโพ และสายนครปฐม-หัวหิน 

      วีริศ อัมระปาล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561)

      ปัจจุบันรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนการขนส่งหลายรูปแบบ (Multimodal Transportation) เพื่อเพิ่มศักยภาพและลดต้นทุนในการขนส่ง ซึ่งหนึ่งในโครงการที่สำคัญ คือ โครงการพัฒนาโครงข่ายรถไฟทางคู่สายลพบุรี – ปากน้ำโพ และ สายนครปฐม – หัวหิน อย่างไรก็ตาม พบว่าความสามารถในการเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างแหล่งเพาะปลูกสินค้า แหล่งกองเก็บ จุดขนถ่ายสินค้า และสถานีรถไฟ รวมไปถึงแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ไม่ได้รับการออกแบบให้สามารถรองรับปริมาณการขนส่งสินค้าและบริการที่เพิ่มสูงขึ้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการศึกษาเส้นทางของกรมทางหลวงชนบท ที่มีศักยภาพรองรับการขนส่งที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต ...
    • type-icon

      ศึกษาแผนพัฒนาสายทางเพื่อสนับสนุนการขนส่งสินค้าและบริการผ่านรถไฟทางคู่สายลพบุรี-ปากน้ำโพ และสายนครปฐม-หัวหิน 

      วีริศ อัมระปาล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562)

      ปัจจุบันรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนการขนส่งหลายรูปแบบ (Multimodal Transportation) เพื่อเพิ่มศักยภาพและลดต้นทุนในการขนส่ง ซึ่งหนึ่งในโครงการที่สำคัญ คือ โครงการพัฒนาโครงข่ายรถไฟทางคู่สายลพบุรี – ปากน้ำโพ และ สายนครปฐม – หัวหิน อย่างไรก็ตาม พบว่าความสามารถในการเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างแหล่งเพาะปลูกสินค้า แหล่งกองเก็บ จุดขนถ่ายสินค้า และสถานีรถไฟ รวมไปถึงแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ไม่ได้รับการออกแบบให้สามารถรองรับปริมาณการขนส่งสินค้าและบริการที่เพิ่มสูงขึ้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการศึกษาเส้นทางของกรมทางหลวงชนบท ที่มีศักยภาพรองรับการขนส่งที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต ...
    • type-icon

      พัฒนาเครือข่ายโลจิสติกส์ด้านการขนส่งสินค้าทางถนนรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษเชื่อมโยงสู่ประเทศเพื่อนบ้าน 

      รุธิร์ พนมยงค์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-10)

      ปัจจุบัน การค้าระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้านในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง หรือ GMS มีมูลค่าสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประเทศไทยจึงได้ลงนามเข้าเป็นภาคในความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกการขนส่งข้ามแดนในอนุภูมิลุ่มแม่น้ำโขง (GMS Cross-Border Transport Agreement: GMS CBTA) โดยมีวัตถุประสงค์ในการอำนวยความสะดวกและขจัดอุปสรรคในการขนส่งข้ามพรมแดนระหว่างกัน อย่างไรก็ตาม หลังจากที่ความตกลงมีผลบังคับใช้ พบว่ายังคงมีอุปสรรคหลายประการ โดยเฉพาะในด้านกฎระเบียบ มาตรฐาน และกระบวนการข้ามแดนและผ่านแดนที่แตกต่างกันของแต่ละประเทศ กรมการขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคม ...
    • type-icon

      ศึกษาและพัฒนาเครื่องมือวิเคราะห์ต้นทุนส่วนเพิ่มในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของมาตรการและนโยบายด้านการขนส่งเพื่อการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ 

      นิพันธ์ วิเชียรน้อย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-07-09)

      พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ในฐานะนายกรัฐมนตรีได้ให้ความสำคัญต่อปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) และในการประชุม รัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสมัยที่ 21 (Conference of the Parties to the United Nations Framework Convention on Climate Change: COP21) เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2558 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส นายกรัฐมนตรีได้ร่วมกล่าวถ้อยแถลงในการประชุม COP21 เพื่อแสดงเจตนารมณ์ต่อที่ประชุมว่า “ประเทศไทยมีความตั้งใจที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกร้อยละ 20 จากปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในกรณีปกติ ภายในปี ...
    • type-icon

      สำรวจและวิเคราะห์สภาพทางหลวงผิวแอสฟัลต์ปี 2557 ส่วนที่ 2 

      อุรุยา วีสกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-11-30)

      กรมทางหลวงเป็นหน่วยงานหลักที่ต้องดูแลโครงข่ายสายทางทั่วประเทศ ปัจจุบันมีระยะทางในความรับผิดชอบกว่า 67,793 กิโลเมตร (ต่อ 2 ช่องจราจร) โดยแบ่งเป็นผิวทางลาดยาง 61,834 กิโลเมตร ผิวทางคอนกรีต 5,605 กิโลเมตร และผิวทางลูกรัง 354 กิโลเมตร ที่ผ่านมากรมทางหลวงได้นำเอาระบบบริหารงานบำรุงทาง โดยใช้โปรแกรมบริหารงานบำรุงทาง (Thailand Pavement Management System, TPMS) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ใช้วิเคราะห์วิธีการซ่อมบำรุงทางจากสภาพความเสียหายของทางผิวแอสฟัลต์มาใช้ตั้งแต่ปี 2530 เพื่อประกอบการพิจารณาจัดทำแผนบำรุงทางของสำนักงานทางหลวงและแขวงการทาง โปรแกรมดังกล่าววิเคราะ ...