Show simple item record

dc.contributor.authorนิพันธ์ วิเชียรน้อย
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2018-10-30T08:53:05Z
dc.date.available2018-10-30T08:53:05Z
dc.date.issued2013
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/463
dc.description.abstractโครงการจัดทำแผนพัฒนาระบบโครงข่ายสายรองเชื่อมโยงการขนส่งและโลจิสติกส์ มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกสายทางที่มีความเหมาะสมและศักยภาพทางด้านการค้าการลงทุน การท่องเที่ยว และการเกษตร มาจัดทำเป็นแผนพัฒนาฯ โดยเบื้องต้นได้ทำการคัดเลือกโครงการที่มีศักยภาพ สูงสุด 75 สายทางจากโครงการของกรมทางหลวงชนบททั้งหมด และข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามความเห็นการพัฒนาสายทางจากสำนัก กรมทางหลวงชนบทรายภูมิภาคที่เสนอแนะเพิ่มเติม จากนั้นที่ปรึกษาได้ทำการคัดเลือกโครงการที่มีศักยภาพสูงสุด 55 สายทาง (11 สายทาง ใน 5 ภาค ได้แก่ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์แบบลำดับชั้น (Analytic Hierarchy Process, AHP) โดยใช้ปัจจัยทางด้านการเชื่อมต่อและการเข้าถึง ด้านปริมาณจราจร ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านวิศวกรรม และ ด้านค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ มาเป็นปัจจัยในการจัดลำดับความสำคัญของสายทางที่มีศักยภาพ ทั้งสิ้น 55 สายทาง จากการจัดลำดับความสำคัญของโครงการทั้ง 55 สายทางจะได้ แผนพัฒนาระบบโครงข่ายสายรองเชื่อมโยงการขนส่งและโลจิสติกส์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ระยะ ได้แก่ แผนพัฒนาฯระยะเร่งด่วน 15 โครงการ แผนพัฒนาฯระยะสั้น 3 โครงการ แผนพัฒนาฯระยะกลาง 9 โครงการ และแผนพัฒนาฯ ระยะยาว 29 โครงการ โดยมีระยะทางรวมทั้งสิ้น 1,130.491 กิโลเมตร และวงเงินก่อสร้างประมาณ 23,218 ล้านบาทth
dc.description.abstractThe development plan of transportation linkage network and logistic aims to seek the most appropriate route and the potential of investment, tourism and agriculture to conduct this plan. Fundamentally, 75 projects with the highest potential from the Department of Rural Roads and the information obtained from the survey of the additional route development are selected. The consultants have narrowed them down to 55 routes (11 routes in 5 regions which are the central, northern, southern, eastern and northeastern region) by using the Analytic Hierarchy Process (AHP), concerning the factors of linkage and access, volume of traffic, environment, engineering and project expenses, to prioritize all 55 routes. The development plan of transportation linkage network and logistic can be divided into 4 stages which are 3 urgent-period plans, 3 short-period plans, 9 medium-period plans and 29 long-period plans. The distance totals at 1,130.491 kilometers and the approximate budget for construction is 23.218 billion baht.th
dc.description.sponsorshipกรมทางหลวงชนบท
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectFeederth
dc.subjectแผนการพัฒนาระบบโครงข่ายสายรองth
dc.subjectเชื่อมโยงการขนส่งth
dc.titleจัดทำแผนการพัฒนาระบบโครงข่ายสายรอง (Feeder) เชื่อมโยงการขนส่งและโลจิสติกส์กรมทางหลวงชนบท
dc.title.alternativeProject on Feeder road network development master plan for improvement of transport and logistic system
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rights.holderกรมทางหลวงชนบท
cerif.cfProj-cfProjId2556A00272
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาการคมนาคมขนส่ง (Transportation sector : TR)
turac.contributor.clientกรมทางหลวงชนบท
turac.fieldOfStudyวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record