Now showing items 1-5 of 5

    • type-icon

      กิจกรรมติดตามและประเมินผลโครงการภายใต้ โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก (Thailand Food Quality to the World) ประจําปีงบประมาณ 2558 

      พีระ เจริญพร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก (Thailand Food Quality to the World) ปี 2558 มีการดำเนินงานโครงการได้แบ่งออกเป็นกิจกรรมย่อยทั้งหมด 10 กิจกรรม โดยรายงานฉบับนี้เป็นผลการดำเนินงานของกิจกรรมที่ 10 ซึ่งเป็นกระบวนการติดตามและประเมินผลกิจกรรมที่ 1 – 9 ภาพรวมการติดตามและประเมินผลโครงการ ณ สิ้นเดือนกันยายน 2558 พบว่า กิจกรรมทั้งหมดทั้งหมดดำเนินการได้เสร็จสิ้นตามแผนการดำเนินการเรียบร้อยแล้ว โดยมีผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของโครงการ คือ 1) ผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 190 ผลการติดตามพบว่า มีผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น ...
    • type-icon

      จัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืนด้วย Water footprint ในอุตสาหกรรมอาหารเพื่อการส่งออก ปี 2558 

      ไพรัช อุศุภรัตน์; Usubharatana, Phairat (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมเป็นหัวข้อสำคัญที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับคุณภาพสินค้าและระบบการบริหารจัดการ โดยเฉพาะโลกที่อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์การค้าของ WTO สำหรับการใช้น้ำในภาคอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งมีแนวโน้มการใช้น้ำในปริมาณมาก เมื่อเทียบกับการผลิตจากอุตสาหกรรมประเภทอื่นๆ โดยการใช้น้ำอาจมาจากกิจกรรมต่างๆ อาจเป็นภาระต่อสิ่งแวดล้อมในรูปของน้ำเสียที่อุตสาหกรรมต้องทำการบำบัดให้ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดขึ้นก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ ในปัจจุบันการศึกษาเกี่ยวกับร่องรอยการใช้น้ำ หรือ วอเตอร์ฟุตพริ้นท์จากการผลิตผลิตภัณฑ์ (water footprint of product) จึงเป็นโอกาสให้เกิดก ...
    • type-icon

      พัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก (Thailand Food Quality to the World) กิจกรรม: การลดต้นทุนการผลิตที่ยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วย Green Productivity 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก (Thailand Food Quality to the World) ของสถาบันอาหาร มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับคุณภาพการผลิตอาหารในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจบริการอาหารของไทยให้มีคุณภาพ ปลอดภัยและมีคุณค่าโภชนาการที่เหมาะสมซึ่งที่ปรึกษาของสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแนะนำได้นำหลักการ Green Productivity (GP) ไปประยุกต์ใช้ ในการเพิ่มศักยภาพและลดต้นทุนการผลิตให้แก่โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร จำนวน 4 แห่ง
    • type-icon

      ยกระดับการแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารไทยด้วยการลดต้นทุนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ปี 2558 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      อุตสาหกรรมอาหารนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมส่งออกที่สำคัญ ซึ่งในปัจจุบันการค้าโลกนับวันจะมีการเปิดเสรีมากขึ้น ส่งผลให้การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารของไทยไปยังตลาดโลกประสบกับอุปสรรคต่างๆ โดยเฉพาะการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน ซึ่งมีหลายประเทศที่สามารถผลิตอาหารเพื่อการส่งออกได้ นอกจากนี้การที่ผู้บริโภคในประเทศคู่ค้าสำคัญได้ให้ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงทำให้หันมาบริโภคสินค้าที่มาจากกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด จากอุปสรรคทางการค้าโลกดังกล่าว ...
    • type-icon

      ศึกษาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี CAE ในประเทศไทย ในอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลทาง เกษตร และอุตสาหกรรมอาหาร 

      วิโรจน์ ลิ่มตระการ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      CAE Technology is an important role in engineering work of several industries. Electrical and electronics industries use CAE technology to help product design related to customer requirements. Petroleum and petrochemical industries conduct CAE technology in the development of process and maintenance. Medical industries apply CAE technology in design and manufacturing quality of medical measurement and instrument. Tend of CAE technology application will be on Virtual Engineering platform that will simulate all engineering work on computer. This ...