Now showing items 1-4 of 4

    • type-icon

      การศึกษารูปแบบและกลไกการสร้างความร่วมมือภาคีเครือข่ายเพื่อส่งเสริมการผลิตและพัฒนากำลังคนที่ตอบสนองการพัฒนาประเทศ โดยวิธีเฉพาะเจาะจง 

      ศุภชัย ศรีสุชาติ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-08-27)

      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบหลายฝ่ายให้เป็นไปตามข้อกำหนดของแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เริ่มจากการทบทวนบทเรียนระหว่างประเทศในประเด็นที่เกี่ยวข้อง จากนั้นจัดสนทนากลุ่มโฟกัส 5 กลุ่มที่ 5 จังหวัดในประเทศไทยเพื่อแบ่งปันบทเรียนที่ได้เรียนรู้ตลอดจนร่วมกันพัฒนากรอบการทำงานร่วมกันที่เหมาะสมสำหรับสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ชาญฉลาดในท้องถิ่นมีสาระสำคัญ 5 ประการ จากการทบทวนวรรณกรรมระหว่างประเทศ ประการแรกการสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสมจำเป็นต้องมีเป้าหมายการเรียนรู้ที่ชัดเจน ประการที่สองเป้าหมายการเรียนรู้ของแต่ละท้องถิ่น ...
    • type-icon

      การศึกษาวิจัยเปรียบเทียบการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ด้านการศึกษาบทเรียนจากนานาประเทศ 

      ศุภชัย ศรีสุชาติ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-08-10)

      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์สองข้อ ข้อแรก คือ ศึกษาสถานภาพปัจจุบันในการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในระดับนโยบาย ระดับพื้นที่ และระดับสถานศึกษา โดยศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบการนำผลการวิจัยด้านการศึกษาไปใช้ประโยชน์ที่ประสบความสำเร็จของประเทศต่าง ๆ ได้แก่ ฟินแลนด์ อังกฤษ ญี่ปุ่น สิงคโปร์ เกาหลีใต้ จีน และประเทศไทย สู่การจัดทำแนวทางการนำผลการวิจัยมาใช้ประโยชน์ด้านการศึกษาสำหรับประเทศไทยเพื่อการพัฒนาคนไทยในการเตรียมพร้อมสู่ประเทศไทยยุค 4.0 ข้อที่สอง คือ การจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการนำผลการวิจัยมาใช้ประโยชน์ด้านการศึกษาและแนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนา ...
    • type-icon

      ความต้องการกำลังคนที่เชื่อมโยงกับภาคเศรษฐกิจโดยยึดพื้นที่เป็นฐาน (Area-based) โดยวิธีเฉพาะเจาะจง 

      เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-08-27)

      การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาความต้องการกำลังคนที่เชื่อมโยงกับภาคเศรษฐกิจโดยยึดพื้นที่เป็นฐาน เป็นการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิควบคู่ไปกับข้อมูลปฐมภูมิเกี่ยวข้องกับความต้องการกำลังคนที่เชื่อมโยงกับภาคเศรษฐกิจโดยยึดพื้นที่เป็นฐาน (Area-based) โดยมีวัตถุประสงค์เป็นการศึกษาและวิเคราะห์ต่อยอดจากองค์ความรู้เรื่องแนวโน้มความต้องการกำลังคนที่ยึดพื้นที่เป็นฐาน (Area-based) ให้เห็นความเชื่อมโยงกับภาคเศรษฐกิจโดยยึดพื้นที่เป็นฐาน (Area-based) อันจะส่งผลให้มีข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ในการจัดทำข้อเสนอเชื่อมโยงกับภาคการทำงาน รวมถึงยังเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการพัฒนางานกลไก ...
    • type-icon

      ศึกษาแนวโน้มความต้องการกำลังคนที่ยึดพื้นที่เป็นฐาน (Area-based) 

      เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-08-10)

      การศึกษาครั้งนี้เป็นการพัฒนาใช้แนวทางในการเตรียมกำลังคนที่ยึดพื้นที่เป็นฐาน โดยมี 6 จังหวัดที่ใช้เป็นพื้นที่ทำการศึกษา ได้แก่ จังหวัดตาก จังหวัดนราธิวาส จังหวัดอุดรธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นการศึกษาโดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิควบคู่ไปกับข้อมูลปฐมภูมิที่ได้จากการจากการสัมภาษณ์ หรือสนทนากลุ่ม ของตัวแทนจากภาครัฐ สถานศึกษา ภาคเอกชน ชุมชน และตัวผู้เรียนรวมทั้งสิ้น 183 คน โดยจะเริ่มจากการศึกษาบทเรียนจากต่างประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สหภาพยุโรป ประเทศญี่ปุ่น และมาเลเซีย จากนั้นจึงทำการวิเคราะห์ผ ...