Now showing items 1-7 of 7

    • Thumbnail

      การปรับตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ด้านการต่างประเทศ (Strategic Position) และการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานครในบริบทเมืองมหานครแห่งเอเชีย ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) 

      จิตติภัทร พูนขำ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2023-02-08)

      รายละเอียดตามเอกสารแนบ
    • type-icon

      จัดทำยุทธศาสตร์และแนวทางการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีไทยเพื่อตอบสนองต่ออุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศปี พ.ศ. 2560 ถึง พ.ศ. 2564 

      ธีร์ เจียศิริพงษ์กุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      งานวิจัย เรื่อง โครงการจัดทำยุทธศาสตร์และแนวทางการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีไทย เพื่อตอบสนองต่ออุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ ปี พ.ศ.2560 ถึง พ.ศ. 2564 ภายใต้ โครงการพัฒนาและถ่ายทอดเครื่องจักรเครื่องมือและอุปกรณ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถและถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและศึกษาข้อมูลในการจัดทำยุทธศาสตร์และแนวทางการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องจักรกลไทย และจัดทำร่างยุทธศาสตร์และแนวทางการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องจักรกลไทย ใช้ระเบียบวิธีวิจัยศึกษาเชิงคุณภาพ ได้แก่ (1) ศึกษา วิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารยุทธศาสตร์และน ...
    • Thumbnail

      จัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการเงินทุนหมุนเวียนค่าเครื่องจักรกลของกรมทางหลวง (พ.ศ.2566-2570) 

      จตุรงค์ นภาธร (สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2023-04-04)

      รายละเอียดตามเอกสารแนบ
    • type-icon

      ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารทะเลให้เป็นศูนย์กลางผลิตอาหารทะเลแห่งอนาคต ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2564 – 2566) 

      แก้วตา โรหิตรัตนะ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-01-29)

      โครงการจัดทำยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารทะเลให้เป็นศูนย์กลางผลิตอาหารทะเลแห่งอนาคต ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2564 – 2566) ภายใต้การดำเนินของ ศภ.8 มีวัตถุประสงค์ในการจัดทำยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมายในระดับพื้นที่ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 ให้สอดคล้องกับกรอบนโยบายและการพัฒนาประเทศในภาพรวมและเป็นไปตามภารกิจการดำเนินงานใหม่ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม โดยเฉพาะภารกิจในการเป็นหน่วยงานวิชาการในการเสนอความเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ เพื่อส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและวิสาหกิจชุ ...
    • type-icon

      ร่างยุทธศาสตร์การพัฒนาสตรี พ.ศ.2560-2564 

      ภาคภูมิ ฤกขะเมธ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      สตรีมีจำนวนและสัดส่วนมากกว่าครึ่งของประชากรในประเทศไทย และเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศ การศึกษาความก้าวหน้าในการพัฒนาสตรีของไทยนี้ จึงเป็นโครงการวิจัยเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับสถานภาพของสตรีล่าสุด ติดตามความก้าวหน้าในการเข้ามามีส่วนร่วมของสตรีในกิจกรรมการพัฒนามิติต่างๆ เข้าใจและรับทราบถึงประเด็นปัญหาสําคัญๆ ซึ่งนําไปสู่การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาสตรีในภาพรวมเพื่อประกอบการจัดทําแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสตรีห้าปี ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ผลการศึกษาพบว่า ประเทศไทยมีความก้าวหน้าในพัฒนาสต ...
    • type-icon

      ศึกษาจัดทำแผนการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของกรุงเทพมหานครในปี 2558 

      ประภัสสร์ เทพชาตรี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      The project arrangement of Bangkok’s Plan to enter into the ASEAN Community in 2015 is jointly prepared by Office of Strategy and Evaluation Department of Bangkok Metropolitan Administration and Thammasat University Research and Consultancy Institute. The main purpose of this project is to be the direction and guidance for agencies of the Bangkok Metropolitan Administration of appropriate implementations to approach the ASEAN community and to make an ASEAN awareness, knowledge, and fundamental Metropolitan Administration, and persuade the ...
    • type-icon

      ส่งเสริมความสามารถทางนวัตกรรม สำหรับกลุ่มผู้นำภาครัฐและเอกชน (DRIVE CONNECT) รุ่นที่ 1 

      ทวิดา กมลเวชช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-26)

      จากการสำรวจและทบทวนองค์ประกอบของหลักสูตรฝึกอบรม ที่มีทั้งเนื้อหาในความพยายามสร้างเครือข่าย และในเนื้อหามุ่งเน้นเฉพาะนวัตกรรม จะพบความคล้ายคลึงกันในมิติของการพยายามที่จะสอนทักษะและเทคนิคของการสร้าง คือสร้างเครือข่ายและสร้างนวัตกรรม ซึ่งในลักษณะนี้นั้น เรากลับไม่พบในหลักสูตรการฝึกอบรมเครือข่ายนวัตกรรม กล่าวคือ การฝึกอบรมเครือข่ายนวัตกรรม มักจะเน้นเรื่องการคิด ทักษะการแปลงความคิด การสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยี การสร้างสิ่งใหม่ๆในการผลิต มากกว่าการเน้นทักษะเครือข่าย โดยคาดหวังให้การฝึกอบรมร่วมกันผ่านกิจกรรมต่างๆนั้น เป็นสิ่งที่สร้างเครือข่ายขึ้นได้เอง ...