Now showing items 1-10 of 10

    • type-icon

      Creative Hubs Mapping 

      พีรดร แก้วลาย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-08-02)

      ช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา ในทั่วทุกมุมโลกได้มีการเกิดขึ้นของพื้นที่นวัตกรรม (innovative space) ซึ่งเป็นพื้นที่ในการออกแบบ ทดสอบ ขยายผล และนำผลงานที่มีแนวคิดใหม่ๆ เหล่านั้นออกสู่ตลาด บริติช เคานซิล (British Council) ได้ทำงานกับศูนย์รวมความคิดสร้างสรรค์ (creative hub) ทั่วโลก มาเป็นเวลาหลายปี ขณะนี้บริติช เคานซิล มีความประสงค์ที่ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับพื้นที่ดังกล่าว ในประเทศในกลุ่มทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย และอินโดนีเซีย รายงานฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อศึกษา 6 กรณีศึกษาของศูนย์รวมความคิดสร้างสรรค์ (creative hub) ...
    • type-icon

      Research on the Social Impact of Creative Hubs in Thailand 

      พีรดร แก้วลาย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-08-03)

      บริติช เคาน์ซิล อธิบายความหมายของ 'ศูนย์กลางความคิดสร้างสรรค์' ว่าเป็นสถานที่ในทางกายภาพและเสมือนจริง ที่นำคนที่มีความคิดสร้างสรรค์มาไว้ด้วยกัน เป็นผู้ประสานโดยการให้พื้นที่และการสนับสนุนการสร้างเครือข่าย การพัฒนาธุรกิจ และการมีส่วนร่วมของชุมชนในการขับเคลื่อนงานสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และเทคโนโลยี นอกเหนือจากการมีส่วนร่วมในการเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ของประเทศไทยแล้ว ศูนย์กลางความคิดสร้างสรรค์ถือเป็นหนึ่งในกลไกสำคัญที่สร้างการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ในระดับบุคคล ชุมชน และระดับประเทศ โดยแต่ละแห่งจะมีเอกลักษณ์ ลักษณะ และบทบาท เฉพาะตัว ...
    • type-icon

      การจัดทำรายละเอียดโครงการ Architectural Programming และข้อมูลเพื่อการออกแบบ Design Brief ภายใต้โครงการเตรียมการจัดตั้งและออกแบบศูนย์การเรียนรู้แห่งชาติ National Knowledge Center : NKC 

      พีรดร แก้วลาย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-08-07)

      สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ ได้ดำเนินการด้านการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้และองค์ความรู้มาอย่างยาวนานกว่า 13 ปี ทำให้เห็นถึงความสำคัญของศูนย์การเรียนรู้ที่มีบทบาทระดับประเทศทันสมัยและสอดคล้องกับวิถีชีวิตและพฤติกรรของคนในยุคปัจจุบัน จึงได้ดำเนินการจัดทำรายละเอียดโครงการ และข้อมูลเพื่อการออกแบบภายใต้โครงการเตรียมการจัดตั้งและออกแบบศูนย์การเรียนรู้แห่งชาติขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลความต้องการการใช้พื้นที่และปัญหาการใช้พื้นที่เดิมกำหนดพื้นที่ใช้สอยที่เหมาะสมกับพื้นที่ใหม่ กำหนดแนวทางการใช้พื้นที่ของศูนย์การเรียนรู้แห่งช ...
    • type-icon

      งานศึกษาแนวทางการจัดตั้ง National Knowledge Park ที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย 

      พีรดร แก้วลาย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-08-07)

      ความรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นความรู้ที่มีความพลวัต (Dynamic) ซึ่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ประกอบด้วย นวัตกรรมความคิดสร้างสรรค์ และข้อมูล ทำให้ลักษณะของการเข้าถึงความรู้เป็นไปในลักษณะที่ผ่านกระบวนการแบ่งปันความรู้การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างบุคคล โดยศูนย์ความรู้แห่งชาติ พื้นที่เพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จะทำหน้าที่เปรียบเสมือนเป็นตัวกลาง ในการอำนวยความสะดวกให้กับการเข้าถึงความรู้ที่เป็นพลวัต เป็นผู้สร้างพื้นที่บริการ (Space Provider) และผู้อำนวยและประสานในการเข้าถึงความรู้ (Facilitator) ดังนั้นโครงการศูนย์ความรู้แห่งชาติจำเป็นต้องกำหนดแนวความคิดโค ...
    • type-icon

      จัดทำฐานข้อมูลพื้นที่ว่างให้เช่าและประเภทธุรกิจในพื้นที่เจริญกรุง-คลองสาน 

      พีรดร แก้วลาย; ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      การจัดงาน Bangkok Design Week ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการแสดงศักยภาพทางด้านการออกแบบ ศิลปะ วัฒนธรรม เศรษฐกิจของกรุงเทพมหานคร อีกทั้งยังเป็นกลไกสำคัญในการก่อให้เกิดการสนับสนุนผู้ประกอบการ นักออกแบบ และชุมชนในพื้นที่ ทั้งในด้านของการพัฒนากายภาพ และการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้เกิดการจัดเตรียมงานที่มีศักยภาพ และเหมาะสมกับพื้นที่ ดังนั้น โครงการจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่ว่างให้เช่า และประเภทธุรกิจในพื้นที่เจริญกรุง-คลองสานจึงมีความจำเป็นที่จะต้องกำหนดรายละเอียดในการเก็บข้อมูลให้ครอบคลุมทั้งในเชิงกายภาพของพื้นที่ และรูปแบบหรือประเภทธุรกิจในพื้นที่สำหรับการจัดทำ ...
    • type-icon

      จัดทำผังแม่บทพัฒนาพื้นที่ การปรับปรุงภูมิทัศน์ และการออกแบบตลาดชุมชนบ้านร่ม 

      พีรดร แก้วลาย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565-07-22)

      สืบเนื่องจากพื้นที่บริเวณชุมชนบ้านร่มเป็นพื้นที่ชุมชนที่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชุมชนอย่างยาวนาน เป็นชุมชนที่มีศักยภาพในเชิงวัฒนธรรมในด้านอาหารและวัตถุดิบท้องถิ่น ประกอบกับทำเลที่ตั้งของชุมชนยังเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง เป็นพื้นที่ที่อยู่ติดกับพื้นที่บริเวณริมแม่น้ำปัตตานีมีความสมบูรณ์ในเชิงของระบบนิเวศทางธรรมชาติ และเป็นพื้นที่ที่การกระจุกตัวของหน่วยงานภาครัฐ เหมาะแก่การเป็นพื้นที่สาธารณะของเมืองที่ผสมผสานระหว่างธรรมชาติ และวัฒนธรรมท้องถิ่น นอกจากนี้ชุมชนบ้านร่ม เป็นชุมชนดั้งเดิมที่อยู่คู่กับพื้นที่มาอย่างยาวนาน ทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็งแล ...
    • type-icon

      ถอดบทเรียนพัฒนาบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชน 

      พีรดร แก้วลาย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-10-07)

      ผู้สนใจสามารถเข้าถึงข้อมูลงานวิจัยได้ที่ http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/1188
    • Thumbnail

      ศึกษาความเป็นไปได้และโอกาสของประเทศไทยในการประมูลสิทธิ์และจัดงานเอ็กซ์โปวาระพิเศษ (Specialized Expo) 

      พีรดร แก้วลาย (สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2023-04-04)

      รายละเอียดตามเอกสารแนบ
    • type-icon

      ศึกษาศักยภาพอุตสาหกรรมการออกแบบของประเทศไทย 

      พีรดร แก้วลาย; ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      เศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นส่วนหนึ่งในยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบจึงได้จัดทำโครงการศึกษาศักยภาพอุตสาหกรรมการออกแบบของประเทศไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลแสดงถึงศักยภาพของอุตสาหกรรมการออกแบบ และกำหนดแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมการออกแบบได้อย่างครอบคลุม ประกอบด้วย 8 อุตสาหกรรมการออกแบบคือ (1) สาขาสถาปัตยกรรม (2) สาขาสถาปัตยกรรมภายใน (3) สาขาภูมิสถาปัตยกรรม (4) สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ (5) สาขาเรขศิลป์ (6) สาขาแอนิเมชั่นและคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (7) สาขาออกแบบนิทรรศการ และ (8) การออกแบบบริการ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดเก็บ ...
    • type-icon

      แนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณรอบสถานีขนส่งมวลชนระบบรางที่เอื้อต่อการใช้ระบบขนส่งสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน 

      ภาวิณี เอี่ยมตระกูล; พีรดร แก้วลาย; ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า; มานัส ศรีวณิช; ดารณี จารีมิตร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      แนวทางการพัฒนาพื้นที่แบบระบบขนส่งมวลชนระบบราง (Transit Oriented Development) เป็นที่ยอมรับในระดับสากลอย่างกว้างขวาง ซึ่งมีหลักการในการพัฒนาพื้นที่แบบเข้มข้น โดยมีรูปแบบการพัฒนาพื้นที่บริเวณโดยรอบ ประกอบด้วย การพัฒนาศูนย์กลางที่อยู่อาศัย และพาณิชยกรรมบริเวณสถานีขนส่งมวลชน หรือโดยรอบเส้นทางระบบขนส่งมวลชน เน้นการออกแบบการเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนอย่างมีประสิทธิภาพ และคำนึงถึงการเดินทางแบบไม่ใช้เครื่องยนต์ โดยเฉพาะการเดินเท้าในรัศมี 800 เมตร จากสถานีขนส่งมวลชน รวมถึงการใช้มาตรการอื่นที่ส่งเสริมการเดินทางด้วยระบบขนส่งมวลชน ทั้งนี้ระบบขนส่งมวลชนทางราง ...