ศึกษาเปรียบเทียบ และจัดทำข้อกำหนดและขอบเขตงานตามโครงการจ้างเหมาเอกชนดำเนินการให้บริการรับคำขออนุญาตทำงาน การออกใบอนุญาตทำงานและการแจ้งการทำงานของคนต่างด้าว
by วินัย รักสุนทร
Title: | ศึกษาเปรียบเทียบ และจัดทำข้อกำหนดและขอบเขตงานตามโครงการจ้างเหมาเอกชนดำเนินการให้บริการรับคำขออนุญาตทำงาน การออกใบอนุญาตทำงานและการแจ้งการทำงานของคนต่างด้าว |
Other title(s): | Compare and prepare the terms and scope of work under the private contractor project. Issuance of a work permit and notification of alien work |
Author(s): | วินัย รักสุนทร |
Client: | กรมการจัดหางาน |
Publisher: | สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
Issued date: | 2563-12-04 |
Research Sector: | สาขาการวิจัยและการประเมินผล (Research and Evaluation sector : RE) |
Project Type: | โครงการที่ปรึกษา |
Project ID: | 2563A00091 |
Project Name: | ศึกษาเปรียบเทียบ และจัดทำข้อกำหนดและขอบเขตงานตามโครงการจ้างเหมาเอกชนดำเนินการให้บริการรับคำขออนุญาตทำงาน การออกใบอนุญาตทำงานและการแจ้งการทำงานของคนต่างด้าว |
Project Status: | สิ้นสุดโครงการ |
Abstract: |
กระทรวงแรงงานอยู่ระหว่างการปรับเปลี่ยนการปฏิบัติงานการบริหารแรงงานต่างด้าวให้เป็นรูปแบบดิจิทัล ในการนี้จะใช้แนวทางจ้างให้เอกชนดำเนินการแบบเบ็ดเสร็จ ผู้รับจ้างรับผิดชอบการจัดสร้างสถานที่รับคำขออนุญาต พัฒนาระบบให้บริการเชิงอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการขออนุญาตและจัดทำใบอนุญาต อันเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนงานบริหารการทำงานของคนต่างด้าว เอกสารข้อกำหนดฉบับนี้ ถูกจัดทำขึ้นเพื่อกำหนดรายละเอียดการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างและสร้างความเท่าเทียมในโอกาสที่จะได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้ดำเนินงานสำหรับผู้ยื่นข้อเสนอทุกราย The Department of Employment is planning to digitally transform its foreign workers administration operation by outsourcing the enrollment, document processing, and work permit issuing operations to a private operator. The outsourcer is responsible for establishing the enrollment office and developing e-services for work-permit enrollment and issuing, which will improve the effectiveness of the entire foreign workers administration processes. The Terms of Reference is developed to detail the scope of outsourcing work and to ensure equal opportunity for every outsources pursuer. |
Keyword(s): | การให้บริการรับคำขออนุญาตทำงาน
การออกใบอนุญาตทำงาน การแจ้งการทำงานของคนต่างด้าว กรมการจัดหางาน |
Resource type: | รายงานวิจัย |
Type: | Text |
Language: | tha |
Rights: | เอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยผู้ให้ทุน ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร |
Access rights: | บุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงเอกสารนี้ได้ |
Rights holder(s): | กรมการจัดหางาน |
URI: | https://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/943 |
Files in this item (CONTENT) |
|
View no fulltext.doc ( 21.50 KB ) |
This item appears in the following Collection(s) |
|
|
Related items
Showing items related by title, author, creator and subject.
-
กิจกรรมการวิเคราะห์และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมระบบอัจฉริยะเฝ้าติดตามและตรวจสอบดูแล การทำงานของเครื่องจักร Machine Monitoring System ในสถานประกอบการ พร้อมระบบดิจิทัล ภายใต้โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมระบบอัจฉริยะเฝ้าติดตาม และตรวจสอบดูแลการทำงานของเครื่องจักร (Machine Monitoring System) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561
ธีร เจียศิริพงษ์กุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)
จากนโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมในประเทศไทยตามแนวคิดประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) ซึ่งเป็นการประสานความสามารถของเทคโนโลยีการผลิตเข้ากับเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนั้นเพื่อให้สอดรับกับประเทศไทย 4.0 อย่างเป็นรูปธรรม กระทรวงอุตสาหกรรมจึงได้กำหนด 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต ทั้งกลุ่มอุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ (First S-curve) และกลุ่มอุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมในฐานะหน่วยงานส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และขับเคลื่อนการดำเนินงานกองทุนพัฒนา SMEs ให้เข้าสู่ประเทศไทย 4.0 ... -
เครื่องอบแห้งไม้ยางพาราโดยใช้ไมโครเวฟร่วมระบบลมร้อนชนิดทำงานอย่างต่อเนื่องและปรับระดับกำลังได้
ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช; Rattanadecho, Phadungsak (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)
ในอุตสาหกรรมแปรรูปไม้ยางพารา กระบวนการอบแห้งที่มีประสิทธิภาพถือเป็นสิ่งสำคัญในกระบวนการผลิต แต่เนื่องจากเทคโนโลยีการอบแห้งแบบเดิมที่ใช้ เช่น การอบโดยใช้ลมร้อน พลังงานแสงอาทิตย์ ยังมีข้อจำกัดในเรื่องของระยะเวลาการอบแห้งที่ยาวนาน ดังนั้นเทคโนโลยีไมโครเวฟจึงเป็นทางเลือกใหม่ที่สามารถทดแทนเทคโนโลยีแบบเดิมได้ในงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงทดลองเพื่อศึกษาอิทธิพลของกระบวนการอบแห้งไม้ยางพาราด้วยระบบไมโครเวฟป้อนคลื่นหลายตำแหน่งและการพาความร้อนร่วมกับสายพานลำเลียงต่อเนื่องในระบบความร้อนร่วม (Combined System) ระบบไฮบริด (Hybrid System) และการอบแห้งด้วยลมร้อน ... -
การพัฒนาแบบจำลองการทำงานของโรงงานน้ำตาล และโรงไฟฟ้าชีวมวล เพื่อการวางแผนการซ่อมบำรุง และการเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต
สมชาติ ฉันทศิริวรรณ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)
กระบวนการผลิตน้ำตาลประกอบด้วย กระบวนการย่อยๆ หลายกระบวนการ ถ้าพิจารณาในด้านการใช้พลังงาน กระบวนการผลิตน้ำตาลประกอบด้วย 3 กระบวนการหลัก ได้แก่ การหีบอ้อย (milling) การทำระเหย (evaporation) และการตกผลึก (crystallization) รายงานนี้เป็นการศึกษากระบวนการหีบอ้อย ซึ่งทำหน้าที่คั้นน้ำอ้อยจากลำต้นอ้อยโดยใช้ลูกหีบ เท่าที่ผ่านมาการศึกษาการทำงานของกระบวนการนี้อาศัยการเก็บข้อมูลเชิงสถิติเพื่อทำนายการทำงานของกระบวนการในอนาคต รายงานแสดงผลการศึกษาในเชิงทฤษฎีของกระบวนการหีบอ้อยโดยใช้หลักการอนุรักษ์มวล ผลการศึกษานำไปสู่แบบจำลองเชิงคณิตศาสตร์ของกระบวนการหีบอ้อย ...