Show simple item record

dc.contributor.authorวิทวัส รุ่งเรืองผลth
dc.date.accessioned2020-11-12T02:47:49Z
dc.date.available2020-11-12T02:47:49Z
dc.date.issued2563-11-12
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/930
dc.description.abstractสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้มีความต้องการจัดทำโครงการร่างระเบียบมาตรฐานและการรับรองมาตรฐานเครื่องประดับโลหะมีค่าไทย เพื่อรองรับการดำเนินการจัดทำมาตรฐานเครื่องประดับโลหะมีค่าไทยในอนาคต (Thai Hallmark) ซึ่งจะช่วยส่งเสริมอุตสาหกรรมการส่งออกเครื่องประดับโลหะมีค่าของไทย อีกทั้งยังจะช่วยคุ้มครองผู้บริโภคเครื่องประดับโลหะมีค่าในประเทศได้ คณะวิจัยได้จัดทำโครงการร่างระเบียบมาตรฐานและการรับรองมาตรฐานเครื่องประดับโลหะมีค่าของไทยด้วยวิธีวิจัยทุติยภูมิ (Desk Research) โดยข้อมูลสำคัญที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ข้อมูลระเบียบมาตรฐานเครื่องประดับโลหะมีค่าจากต่างประเทศหรือหน่วยงานที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล คือ Hallmarking Convention ระเบียบมาตรฐานเครื่องประดับโลหะมีค่าของสหราชอาณาจักร สวิตเซอร์แลนด์ และประเทศที่มีสภาพแวดล้อมในด้านมาตรฐานเครื่องประดับโลหะมีค่าใกล้เคียงกับประเทศไทย คือ อินเดียและสิงคโปร์และข้อมูลกฎหมายไทยที่เกี่ยวข้องหรือสามารถเทียบเคียงได้เพื่อให้โครงร่างระเบียบมาตรฐานที่จัดทำสามารถ กลมกลืนและสอดคล้องกับกฎหมายเดิมของไทยมากที่สุด โดยโครงร่างระเบียบมาตรฐานที่จัดทำขึ้นประกอบ ด้วยเนื้อหา 6 ส่วน ได้แก่ 1) นิยามคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง 2) มาตรฐานเครื่องประดับโลหะมีค่า 3) ผู้มีส่วนเกี่ยว ข้อง 4) ระเบียบควบคุมมาตรฐานและการประทับตรารับรองมาตรฐาน 5) การกระทำความผิดและบทลงโทษ และ 6) อัตราค่าธรรมเนียม The Gem and Jewelry Institute of Thailand (Public Organization) required the first draft version of Thai Precious Metal Jewelry Standard and Hallmarking for an incoming Thai Hallmarking Act in near future. Under GIT vision, The Act would promote Thai Precious Metal Jewelry Export Industry and boost domestic consumer protection of precious metal jewelry at the same time. This report was delivered by desk research. The secondary data reviews in the report were hallmarking act or standard which high regard in international level i.e. from Hallmarking Convention, United Kingdom and Switzerland and hallmarking act from the country which hallmarking condition resemble to Thailand i.e. India and Singapore. The others secondary data review in this report was Thai’s relevant law to let the Thai Hallmarking Act most harmonized with existing law. Content of this report composed of 6 parts: 1) Definition 2) Precious Metal Standard 3) Organization 4) Mark and Hallmarking 5) Criminal Provision and Penalties and 6) Fee.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์th
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยผู้ให้ทุน ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรth
dc.subjectระเบียบมาตรฐานth
dc.subjectการรับรองมาตรฐานเครื่องประดับโลหะth
dc.subjectเครื่องประดับโลหะth
dc.titleร่างระเบียบมาตรฐานและการรับรองมาตรฐานเครื่องประดับโลหะมีค่าไทยth
dc.title.alternativeDraft regulations and certified of hallmarking for thai precioud metalth
dc.typeTextth
dcterms.accessRightsบุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงเอกสารนี้ได้th
dc.rights.holderสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน)th
cerif.cfProj-cfProjId2559A00268th
mods.genreรายงานวิจัยth
turac.projectTypeโครงการที่ปรึกษาth
turac.researchSectorสาขาอุตสาหกรรม (Industry sector : IN)th
turac.contributor.clientสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
turac.fieldOfStudyสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์th
cerif.cfProj-cfTitleร่างระเบียบมาตรฐานและการรับรองมาตรฐานเครื่องประดับโลหะมีค่าไทยth
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการth


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record