Show simple item record

dc.contributor.authorธีระ สินเดชารักษ์th
dc.date.accessioned2020-11-06T09:03:47Z
dc.date.available2020-11-06T09:03:47Z
dc.date.issued2563-11-06
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/927
dc.description.abstractบทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) นำเสนอผลการจัดเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัดจากหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อนำไปสู่การกำหนดค่ามาตรฐาน (Baseline) และค่ามาตรฐานเปรียบเทียบ (Benchmark) ของแต่ละตัวชี้วัด รวมทั้งประเมินผลการจัดเก็บข้อมูลประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในภาพรวม 2) นำเสนอผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรมในแต่ละด้าน รวมทั้งประเมินจุดอ่อน-จุดแข็ง และโอกาสในการพัฒนากระบวนการยุติธรรม 3) กำหนดทิศทาง และเป้าหมายในการปฎิรูปกระบวนการยุติธรรมทางอาญาและขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการยุติธรรมตามแผนบูรณาการ และแผนระดับชาติต่าง ๆ ของรัฐบาลด้านกระบวนการยุติธรรม ผลการศึกษา พบว่า 1) หลายตัวชี้วัดสามารถกำหนดค่ามาตรฐานและค่ามาตรฐานเปรียบเทียบได้เนื่องจากมีข้อมูลเพียงพอและเชื่อถือได้แต่มีบางตัวที่ยังไม่สามารถกำหนดค่าได้ ผลการจัดเก็บข้อมูลในภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นและแย่ลงพอ ๆ กันจาก 21 ตัวชี้วัดใน 7 กรอบ 2) จุดแข็งและจุดอ่อนถูกนำเสนอจำแนกตามปัจจัยด้านโครงการของหน่วยงานและประสิทธิภาพของกระบวนการยุติธรรม ซึ่งพบหลายตัวชี้วัดสะท้อนให้เห็นโอกาสและอุปสรรคในการพัฒนากระบวนการยุติธรรมซุ่งนำมาสู่การเสนอกลยุทธ์ทั้งเชิงรุก เชิงแก้ไข เชิงป้องกัน และเชิงรับ 3) ทิศทางและเป้าหมายในการปฎิรูปกระบวนการยุติธรรมควรเน้นไปที่การลดจำนวนอาชญากรรม การปฎิรูปกระบวนการ และการนำระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้โดยให้มีการบูรณาการข้อมูลระหว่างกัน The research paper aims to 1) present the performance results following the indicators from all of criminal justice agencies to determine baseline and benchmark in each indictor and evaluate the performance results of storage effect criminal justice in overall 2) to present the analytical results effect criminal justice in each dimension and show the strength-weakness and opportunities to develop criminal justice process 3) determine the direction and target to reform the criminal justice process and drive it following integrated national master plan and others in justice process of Thailand. We found that 1) Many indicators can determine baseline and benchmark because we have sufficient and reliable data but some indicators we still cannot determine. However, the performance results in overall some better some worse from 2.1 indicators following 7 criminal justice frame. 2) The strength and weakness are presented and classified by each the structure of criminal justice agencies and efficiency of justice process which reflects the opportunities and threats to develop justice process. So, we can construct the strategies among SO, WO, ST and WT strategies by using TOWS technique. 3) The direction and target in criminal justice process reform should focus on how to reduce criminal, reform the process and employ the digital technologies.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์th
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยผู้ให้ทุน ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรth
dc.subjectประเมินผลth
dc.subjectวิเคราะห์ข้อมูลตัวชี้วัดประสิทธิภาพth
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญาth
dc.titleประเมินผลการดำเนินดำเนินการจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลตัวชี้วัดประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรมทางอาญาth
dc.title.alternativeThe Evaluation of The Results of Collecting and Analyzing The Indicators Efficiency of Criminal justice Processth
dc.typeTextth
dcterms.accessRightsบุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงเอกสารนี้ได้th
dc.rights.holderสำนักงานกิจการยุติธรรมth
cerif.cfProj-cfProjId2563A00117th
mods.genreรายงานวิจัยth
turac.projectTypeโครงการที่ปรึกษาth
turac.researchSectorสาขาการวิจัยและการประเมินผล (Research and Evaluation sector : RE)th
turac.contributor.clientสำนักงานกิจการยุติธรรม
turac.fieldOfStudyวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth
cerif.cfProj-cfTitleประเมินผลการดำเนินการจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลตัวชี้วัดประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรมทางอาญาth
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการth


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record