กิจกรรมการติดตามประเมินผลโครงการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการ/การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรในภูมิภาค
by กริช เจียมจิโรจน์
กิจกรรมการติดตามประเมินผลโครงการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการ/การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรในภูมิภาค | |
Assessment of the Enhancing market-sharing for a regional Agro-Industrial networking Project | |
กริช เจียมจิโรจน์ | |
2563-09-21 | |
สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
โครงการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการ/การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรในภูมิภาคในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน 2 (เชียงราย พะเยา แพร่ และน่าน) ปี 2560 มีสถานประกอบการเข้าร่วมจำนวน 10 แห่ง แยกเป็นสถานประกอบการในพื้นที่จังหวัดเชียงราย 3 แห่ง พะเยา 3 แห่ง แพร่ 2 แห่ง และน่าน 3 แห่ง ผลการดำเนินโครงการติดตามและประเมินผลโครงการ พบว่า ที่ปรึกษาโครงการมีการดำเนินกิจกรรมครบถ้วนตาม TOR ที่กำหนดไว้ จากการสอบถามความพึงพอใจเกี่ยวกับคุณภาพในการดำเนินการจำนวน 10 ด้าน สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจระดับมาก โดยได้รับคะแนนพึงพอใจเฉลี่ย 87.25% ภาพรวมของสภาพปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขในการดำเนินโครงการที่ผ่านมา พบปัญหาด้านการดำเนินกิจกรรมมากที่สุด รองลงมาเป็นด้านการประสานงาน ด้านงบประมาณ/ค่าใช้จ่าย และด้านบุคลากร ตามลำดับ ข้อเสนอแนะสำหรับการดำเนินโครงการในอนาคต คือ 1) ควรมีระยะเวลาในการประชาสัมพันธ์มากขึ้น และมีรายละเอียดข้อมูลที่จำเป็น 2) ควรปรับด้านระยะเวลาการดำเนินโครงการให้ยาวมากขึ้นต่อเนื่องไปหลาย ๆ ปี และ 3) ควรมีคณะทีมงานที่ปรึกษาที่ประกอบด้วยคนในพื้นที่จังหวัดละ 1 คน เพื่อการประสานงานที่รวดเร็ว และแก้ปัญหาได้ทันท่วงที Entrepreneur networking and competitiveness increasing for agro-industrial product in upper-north region 2 project had 10 entrepreneurs from various provinces joining in 2017, separated by location : 3 in Chaing Rai, 2 in Phayao , 2 in Phare and 3 in Nan. The result of monitoring and evaluating project find the project consultants have done all activity completely which determined in TOR. From inquiring about project operation quality satisfaction in 10 sides, participant entrepreneurs had much satisfied in this project (satisfaction score 87.25%). The overall of problem obstacle and resolution, came mostly from operating factor and next factor were coordination, budgeting and people respectively. The recommendation for future project is 1) more public relation period and more inform necessary data 2) more overall project period and continuous improvement in next year and 3) consultants should be in project area for fast coordination and problem resolution. |
|
อุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร
เครือข่ายผู้ประกอบการ การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน |
|
รายงานวิจัย | |
Text | |
application/pdf | |
tha | |
เอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยผู้ให้ทุน ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร | |
บุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงเอกสารนี้ได้ | |
สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย | |
https://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/899 |
Files in this item (CONTENT) |
|
View 2560A00443-2561A00466-สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย.pdf ( 5,378.24 KB ) |
This item appears in the following Collection(s) |
|
Collections
|