Show simple item record

dc.contributor.authorสกนธ์ วรัญญูวัฒนา
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2015-11-10T02:50:01Z
dc.date.available2015-11-10T02:50:01Z
dc.date.issued2013
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/85
dc.description.abstractPutting into practice with current budgeting system still lacks integration and connection between central ministry/department, provincial and local administration. Moreover, community organization and civil society cannot link its plan to the governmental plan explicitly. Office of The National Economic and Social Development Board, therefore, initiates the project of improving efficiency in the connection between the central, regional and local administration through the process of designing provincial and local plan. To achieve its purposes, we study related documents and literatures, observe and interview in the selected areas. The study shows that successful integration of area-based planning is influenced from both internal and external factors. There are two policy implications. First, Area-based strategic planning must divide projects into categories to determine major and minor responsible offices. Second, mechanism required to connect budget allocation, project preparation, and strategic planning is KPI Mapping, displaying from national to local targets in the same direction.en
dc.description.abstractการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติโดยใช้ระบบแผนและงบประมาณในปัจจุบัน ยังมีปัญหาขาดการบูรณาการและเชื่อมโยงกันระหว่างพื้นที่ระดับจังหวัด กระทรวง/กรมในส่วนกลาง และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) รวมทั้งองค์กรภาคชุมชนหรือภาคประชาสังคม ที่ยังไม่สามารถเชื่อมโยงกับระบบแผนของภาครัฐได้อย่างชัดเจน ด้วยเหตุนี้ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติจึงได้ดำเนินโครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพความสัมพันธ์ระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น โดยผ่านกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนาท้องถิ่น เพื่อหาแนวทางในการเสริมสร้างประสิทธิภาพความสัมพันธ์ระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น เพื่อให้การศึกษาสามารถบรรลุเป้าหมาย จึงได้ศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และเก็บข้อมูลภาคสนาม โดยการสังเกตการณ์ สัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม จากพื้นที่จังหวัด จากการศึกษา พบว่า ความสำเร็จในกระบวนการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์ระดับพื้นที่ถูกกำหนดจากปัจจัยสิ่งแวดล้อมทั้งภายใน ภายนอกองค์กรที่เกี่ยวข้องในการจัดทำแผน โดยที่ปรึกษาได้ มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสองประเด็น ประเด็นแรก คือ การวางแผนยุทธศาสตร์ระดับพื้นที่ต้องมีการจำแนกประเภทโครงการ เพื่อกำหนดหน่วยงานรับผิดชอบหลักและรอง ทำให้เกิดกระบวนการประสานงาน และประเด็นที่สองแนวทางการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์ งบประมาณ และการดำเนินโครงการ คือ การกำหนดแผนที่ตัวชี้วัด (KPI Mapping) ที่สามารถถ่ายทอดเป้าหมายตั้งแต่ระดับชาติจนถึงระดับพื้นที่เพื่อเป็นไปในทิศทางเดียวกันth
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectแผนพัฒนาจังหวัดth
dc.subjectแผนพัฒนาท้องถิ่นth
dc.titleเสริมสร้างประสิทธิภาพความสัมพันธ์ระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่นโดยผ่านกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนาท้องถิ่น
dc.title.alternativeCentral, Regional, and Local Administrative Enhancement with Provincial and Local Strategic Development Planning
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rights.holderสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
cerif.cfProj-cfProjId2556A00192
mods.genreบทความ
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาการพัฒนาเมือง (Urban Development sector : UD)
turac.contributor.clientสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
turac.fieldOfStudyสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

FilesSizeFormatView

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record