Show simple item record

dc.contributor.authorอุรุยา วีสกุลth
dc.date.accessioned2020-06-30T08:42:08Z
dc.date.available2020-06-30T08:42:08Z
dc.date.issued2563-06-30
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/854
dc.description.abstractการจัดเก็บข้อมูลทรัพย์สินงานทางและสะพานเป็นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านงานทาง การก่อสร้าง และงานบำรุงรักษาทางภายในความรับผิดชอบของหลวงชนบท เพื่อให้มีโครงข่ายทางหลวงชนบทที่สมบูรณ์ครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ ซึ่งส่งผลให้ประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็ว และความปลอดภัยในการเดินทาง โดยโครงการนี้มีการใช้เครื่องมือสำรวจและจัดทำแผนที่แบบเคลื่อนที่ได้ (Mobile Mapping System, MMS) ชนิด Image Processing ซึ่งเป็นเทคโนโลยีล่าสุด ส่งผลให้สามารถจัดทำข้อมูลเชิงภาพ (Image Data) และข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Data Creation) ที่มีความละเอียดถูกต้อง และรวดเร็ว เหมาะสมกับลักษณะงานทางของกรมทางหลวงชนบท ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะถูกใช้งานร่วมกันในหลาย ๆ ส่วนงาน เช่น ใช้พัฒนาข้อมูลเพื่อโครงการยกระดับความปลอดภัยทางถนน ใช้ในการวางแผนงานในการยกระดับมาตรฐานชั้นทาง การเพิ่มหรือขยายขนาดช่องจราจรให้เหมาะสมกับรูปแบบการใช้งานที่เปลี่ยนแปลงไป การตรวจสอบจุดเสี่ยงภัยบนสายทาง โดยตรวจสอบการติดตั้งอุปกรณ์ความปลอดภัยที่มีในตำแหน่งพิกัดที่กำหนด และสามารถใช้ภาพมุมกว้าง 360 องศา เพื่อตรวจสอบดูความเสียหายเบื้องต้นของผิวทางได้ เป็นต้น ซึ่งผลลัพธ์จากโครงการนี้ส่งผลให้การดำเนินงานด้านการวางแผนงานต่าง ๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพจากข้อมูลในหลาย ๆ มิติที่ถูกต้องและจำเป็นในการบริหารจัดการงานทางถนน The data of road and bridge information on highways is a fundamental data set for future development of highway networks that are under the responsibility of Department of Rural Roads (DORR). In order to have a complete data set on significant highway assets such as roads and bridge, DORR has supported the use of advanced survey equipment. The main objective of this project is to employ the latest road survey technology. Such technology is related to Mobile Mapping System or MMS that equipped with image processing tool and GIS data creation. Hence, the collected data are accurate and suitable for highway authorities to use them to plan for future development of highway networks. The results from this project provide complete database of highway assets and improve the efficiency of highway management for highway authorities under the DORR.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์th
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยผู้ให้ทุน ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรth
dc.subjectทรัพย์สินงานทางth
dc.subjectโครงข่ายทางหลวงชนบทth
dc.subjectแผนที่แบบเคลื่อนที่ได้th
dc.subjectHighway assetsth
dc.subjecthighway networksth
dc.subjectmobile mapping systemth
dc.titleเก็บข้อมูลทรัพย์สินงานทางและสะพาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (กลุ่มที่ 2)th
dc.title.alternativeA Research and Implementation of Mobile Mapping System for 3D Road Asset Inventoryth
dc.typeTextth
dcterms.accessRightsบุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงเอกสารนี้ได้th
dc.rights.holderกรมทางหลวงชนบทth
cerif.cfProj-cfProjId2562A00018th
mods.genreรายงานวิจัยth
turac.projectTypeโครงการที่ปรึกษาth
turac.researchSectorสาขาการคมนาคมขนส่ง (Transportation sector : TR)th
turac.contributor.clientกรมทางหลวงชนบท
turac.fieldOfStudyวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth
cerif.cfProj-cfTitleจัดเก็บข้อมูลทรัพย์สินงานทางและสะพาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (กลุ่มที่ 2)th
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการth


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record