Show simple item record

dc.contributor.authorภาวิณี เอี่ยมตระกูลth
dc.date.accessioned2020-03-04T07:23:58Z
dc.date.available2020-03-04T07:23:58Z
dc.date.issued2563-03-04
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/742
dc.description.abstractแผนการพัฒนาระบบการสัญจรในประเทศไทยนั้นที่ได้มีการดำเนินการในการกระตุ้นจากภาครัฐผ่านกรอบนโยบายระดับต่าง ๆ ทั้งความเป็นไปได้ในเชิงของเทคโนโลยี จนถึงความสนใจของผู้ประกอบการและหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น อย่างไรก็ตามปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาและวิเคราะห์ด้านความคุ้มทุนในเชิงของนโยบายและการนำไปใช้ให้เกิดขึ้นจริงและชัดเจนในปัจจุบัน งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษากรอบนโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนเมือง การคมนาคมขนส่ง การอนุรักษ์พลังงานสิ่งแวดล้อม และสถานการณ์การพัฒนาเมืองที่เกิดขึ้นในประเทศไทยต่อความเป็นไปได้ในการใช้รถโดยสารไฟฟ้าโทรลลีล้อยางในอนาคต (2) เพื่อระบุปัจจัยและความเป็นไปได้ในการพัฒนาศักยภาพของรถโดยสารไฟฟ้าโทรลลีล้อยางในเมืองหลักของประเทศไทย (3) เพื่อศึกษารูปแบบวิธีการจัดการระบบโครงข่ายรถโดยสารไฟฟ้าโทรลลีล้อยางที่ตอบสนองต่อความต้องการการเดินทางในเมืองหลักของประเทศไทยและเหมาะสมกับผู้ใช้งานทุกกลุ่มในสังคม และ (4) เพื่อเสนอแนะแนวทางการจัดการเชิงนโยบายและมาตรการที่เหมาะสมต่อการพัฒนารถโดยสารไฟฟ้าโทรลลีล้อยางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และสามารถนำไปใชได้กับทุกเมืองหลักของประเทศไทย โดยการศึกษางานวิจัยในครั้งนี้สามารถจำแนกออกได้เป็น 4 ด้านหลัก ได้แก่ (1) การวิเคราะห์กรอบนโยบายสนับสนุนการพัฒนาระบบการให้บริการประเภทรถโดยสารไฟฟ้าโทรลลีล้อยางในระเทศไทย (2) การศึกษาเส้นทางที่เหมาะสมของการ (3) การศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้งานระหว่างการเดินทางในปัจจุบันและภายหลังการนำระบบรถโดยสารไฟฟ้าโทรลลีล้อยางไปใช้ และ (4) การวิเคราะห์ความคุ้มทุนทางเศรษฐศาสตร์ โดยพื้นที่ศึกษาในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงนโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานพัฒนาพลังงานทดแทน และความมั่นคงด้านพลงงาน โดยดำเนินการศึกษาทั้งในมิติของการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งผลสัมฤทธิ์ของการศึกษานั้นคือ การศึกษาความคุ้มทุนของการใช้รถโดยสารไฟฟ้าโทรลลีล้อยางหากมีการนำไปใช้จริง ทั้งในด้านของการบริหารจัดการ (Service operation) การกำหนดเส้นทาง (Route alignment) ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ (Economic feasibility) และการประสานนโยบาย ผลการศึกษาที่คาดหวังจากการศึกษาครั้งนี้คือ เกิดแนวทางในการพิจารณาถึงความเป็นไปได้ของการนำนโยบายด้านการส่งเสริมการพัฒนารถโดยสารไฟฟ้าโทรลลีล้อยางในประเทศไทย รูปแบบการพัฒนาและความคุ้มค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ของการใช้รถโดยสารไฟฟ้าโทรลลีล้อยางในประเทศไทย According to current transportation policies, it had been planned and designed to leverage quality of public services and public transportation. The development policies with regard to future energy consumption and mobility had been founded in all participating sectors such as governmental sector energy conservation policy public transit development regional transit development, and private entrepreneur, local authorities and society. However, there is not much studies to identify the economic feasibility, compatibility of electric trolley bus implementation, supportive policies in Thailand. Therefore, this research aim to study the possibility for implementing trolley bus in urban area under the four objectives (1) to identify the policy structure which relate to urban planning issue, transportation planning issue, environmental issue to drive the succession of Electric trolley bus in Thailand; (2) to identify set of key success in planning, operation and possibilities to implement trolley bus in Thailand; (3) to analyze the optimum point of EV bus trolley for increasing ridership in urban area; and (4) to establish development guideline consisting feasibility study, supportive policies, and operational measurement which could be applicable to other cities in the future. By focusing on policy implementation, Pattaya City, Chonburi province was selected as a case study. There are four aspects in this research and could be exhibited as follows; (1) policy analysis that leverage the succession of ev bus trolley implementation; (2) optimum or service route alignment; (3) compare and predict travel behavior between current travel behavior and preference in future; and (4) economic feasibility in electric trolley bus implementation. This research applied both quantitative ad qualitative techniques to analyses the collected data. Finally, the outcome of research could help for policy recommendation regarding the feasibility of electric trolley bus implementation of local authority will benefit for local entrepreneur to operate and state the necessaries towards enhancing the successfulness of electric trolley bus in the city.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์th
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยผู้ให้ทุน ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรth
dc.subjectรถโดยสารไฟฟ้าโทรลลีล้อยางth
dc.subjectการวิเคราะห์ด้านจราจรth
dc.subjectการวิเคราะห์ความคุ้มทุนทางเศรษฐศาสตร์th
dc.subjectElectric Vehicle Trolleyth
dc.subjectTraffic Analysisth
dc.subjectFeasibility studyth
dc.titleการศึกษาเชิงนโยบายเกี่ยวกับศักยภาพของรถโดยสารไฟฟ้าโทรลลีล้อยาง กรณีศึกษาเมืองพัทยาth
dc.title.alternativeThe study on Potential of Trolley Bus Policy Implementation in Pattaya City, Chonburi Provinceth
dc.typeTextth
dcterms.accessRightsบุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงเอกสารนี้ได้th
dc.rights.holderสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติth
cerif.cfProj-cfProjId2560A00461th
mods.genreรายงานวิจัยth
turac.projectTypeโครงการที่ปรึกษาth
turac.researchSectorสาขาการคมนาคมขนส่ง (Transportation sector : TR)th
turac.contributor.clientสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
turac.fieldOfStudyวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth
cerif.cfProj-cfTitleการศึกษาเชิงนโยบายเกี่ยวกับศักยภาพของรถโดยสารไฟฟ้าโทรลลีล้อยาง กรณีศึกษาเมืองพัทยาth
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการth


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record