Now showing items 1-4 of 4

    • type-icon

      ประเมินผลการดำเนินดำเนินการจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลตัวชี้วัดประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรมทางอาญา 

      ธีระ สินเดชารักษ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-11-06)

      บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) นำเสนอผลการจัดเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัดจากหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อนำไปสู่การกำหนดค่ามาตรฐาน (Baseline) และค่ามาตรฐานเปรียบเทียบ (Benchmark) ของแต่ละตัวชี้วัด รวมทั้งประเมินผลการจัดเก็บข้อมูลประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในภาพรวม 2) นำเสนอผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรมในแต่ละด้าน รวมทั้งประเมินจุดอ่อน-จุดแข็ง และโอกาสในการพัฒนากระบวนการยุติธรรม 3) กำหนดทิศทาง และเป้าหมายในการปฎิรูปกระบวนการยุติธรรมทางอาญาและขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการยุติธรรมตามแผนบูรณาการ และแผนระดับชาติต่าง ๆ ของรัฐบาลด้านกระบวนการยุติธรรม ...
    • type-icon

      พัฒนากระบวนการมาตรฐานในการสำรวจข้อมูลสถิติอาชญากรรมภาคประชาชน 

      ธันยพร สุนทรธรรม (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-11-06)

      งานวิจัยฉบับนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนากระบวนการสำรวจข้อมูลสถิติอาชญากรรมภาคประชาชนของประเทศไทย ทั้งวงรอบการสำรวจ แผนการสำรวจ วิธีการจัดเก็บข้อมูล วิธีการเลือกตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ด้วยการทบทวนกระบวนการสำรวจข้อมูลสถิติอาชญากรรมภาคประชาชนของไทยที่ผ่านมา และการศึกษาแนวทางการสำรวจตามมาตรฐานสากล เพื่อออกแบบการสำรวจเบื้องต้น และรับฟังความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญจากการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) จนนำไปสู่การออกแบบสอญ.1 สอญ.1 (โทรศัพท์) และแบบสอญ.2 ตลอดจนการออกแบบกระบวนการสำ ...
    • type-icon

      วิจัยการพัฒนาเครื่องมือเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย 

      พงษ์กฤษณ์ มงคลสินธุ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-04-02)

      การพัฒนาเครื่องมือเตรียมพร้อมก่อนปล่อย (ผู้ต้องขัง) เนื่องจากกระบวนการยุติธรรมทั้งระบบท่วมท้นไปด้วยผู้กระทำผิดในคดียาเสพติด จนก่อให้เกิดความยุ่งยากในการบริหารจัดการงานยุติธรรมของประเทศทั้งระบบ โดยเฉพาะในส่วนของเรือนจำที่ต้องรับภาระอย่างหนักกับปัญหาผู้ต้องขังล้นเรือนจำ แต่เรือนจำก็ไม่สามารถจำคุกผู้ต้องขังทุกคนไว้จนตาย สักวันหนึ่งไม่ช้าก็เร็วก็ต้องปล่อย โดยเฉพาะผู้ต้องขังส่วนใหญ่ที่เป็นคดีเกี่ยวข้องกับยาเสพติดมีมากกว่าร้อยละ 70 นั้น มักจะเป็นผู้กระทำผิดซ้ำถึงร้อยละ 62.64 และร้อยละ 73.13 ของผู้ที่ได้รับการปล่อยตัวจากเรือนจำและศูนย์ฝึกอบรมเด็กและเย ...
    • type-icon

      สำรวจข้อมูลสถิติอาชญากรรมภาคประชาชน 

      ธันยพร สุนทรธรรม (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-11-06)

      งานวิจัยฉบับนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณมีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บข้อมูลอาชญากรรมของประเทศไทยในประเด็นลักษณะของเหยื่ออาชญากรรม ลักษณะผู้กระทำผิด พฤติการณ์แห่งคดี เวลาและสถานที่เกิดเหตุ ความเสียหายและผลกระทบจากอาชญากรรมการรายงานเหตุต่อเจ้าหน้าที่ การตอบสนองต่ออาชญากรรมที่ได้รับแจ้งของเจ้าหน้าที่ตำรวจ โดยทำการเก็บข้อมูล 440 ตัวอย่างต่อกองบัญชาการ (ตั้งอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบของส่วนป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมของสำนักงานตำรวจแห่งชาติทั้ง 11 หน่วยงานครอบคลุมทั่วทั้งประเทศไทย ได้แก่ กองบัญชาการตำรวจนครบาล, กองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 1-9 และศูนย์ปฏิบัติการตำรวจ ...