Now showing items 26-45 of 60

    • Thumbnail

      ดำเนินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2563 -2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 

      อุรุยา วีสกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-28)

      ตามไฟล์แนบ
    • type-icon

      ตรวจประเมินคุณภาพการให้บริการของจุดสัมผัส ประจำปี 2562 

      นพพร เรืองวานิช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-04-28)

      โครงการตรวจประเมินคุณภาพการให้บริการของจุดสัมผัส ประจำปี 2562 มีวัตถุประสงค์เพื่อ ตรวจประเมินคุณภาพและวัดผลการให้บริการลูกค้าของงานบริการ ณ จุดสัมผัสของ กฟน. แบบบูรณาการต่อยอดสู่การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Service Improvement) และเสนอข้อเสนอแนะการปรับปรุงพัฒนางานบริการให้สอดคล้องกับความคาดหวังของลูกค้าเแบบรายไตรมาส แยกตามราย ฟข. รายจุดสัมผัส และภาพรวมงานบริการ เพื่อกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือในการปรับปรุงคณภาพบริการของจุดสัมผัสสู่ความเป็นเลิศ สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ให้ได้รับประสบการณ์และการรับรู้ที่ดีเมื่อติดต่อกับ กฟน. ก่อให้เกิดการถ่ายทอดแนวค ...
    • Thumbnail
    • type-icon

      ติดตามประเมินผลนโยบายรัฐบาล มิติบูรณาการ 

      ชยกฤต อัศวธิตานนท์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-07-09)

      การประเมินผลแผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ และแผนงานบูรณาการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ มีวัตถุประสงค์ในการติดตามประเมินผลเชิงลึกเพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะ เพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานและการจัดสรรงบประมาณในปีต่อไป โดยเน้นข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการประเมินผลก่อนเริ่มดำเนินการ รวมทั้งเพื่อพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรของสำนักงบประมาณในการติดตาม และประเมินผลให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ซึ่งการรวบรวมข้อมูลเพื่องานวิจัยได้จากการจัดประชุมสัมมนาเก็บข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้องในการจัดทำแผนงานบูรณาการทั้ง ๒ แผนงาน และจากการดำเนิน ...
    • type-icon

      ทบทวนแผนแม่บทการสื่อสารภายในองค์กร และประเมินผลประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กร การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจำปี 2563 

      ศุภชัย ศรีสุชาติ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-06-29)

      การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ได้เล็งเห็นความสำคัญของการสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงานให้บุคลากรภายในองค์กรเกิดความรู้สึกรักในงานที่ทำและผูกพันกับองค์กร โดยมีกลไกเรื่องการสื่อสารภายในองค์กรเป็นเครื่องมือในการประสานการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นแล้ว หน่วยงานสื่อสารภายใน กองเลขานุการและวิเทศสัมพันธ์ สำนักผู้ว่าการ จึงดำเนินการจัดทำแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการสื่อสารภายในองค์กร พ.ศ. 2561-2564 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2563-2565) ที่มีความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล แผนวิสาหกิจ ททท. พ.ศ. 2560-2564 (ฉบับทบทวน พ.ศ.2564-2565) และเป็นไปตามหลักเกณฑ์การประเมิ ...
    • type-icon

      ประสานงานจัดการความรู้งานวิจัยเพื่อการใช้ประโยชน์ในเชิงนโยบายตามร่างกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 

      นนท์ นุชหมอน (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565-08-27)

      ที่ผ่านมาประเทศไทยมีการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยในทางนิติบัญญัติและการบริหารราชการแผ่นดินยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างน้อย ทั้งนี้อาจเกิดจากสาเหตุบางประการ เช่น ขาดหน่วยงานที่เชื่อมต่อระหว่างภาควิชาการและภาคนโยบาย ทำให้องค์ความรู้จากงานวิจัยไม่ได้ถูกจัดการอย่างเป็นระบบเพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ในเชิงนโยบาย โดยเฉพาะในการร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติโดยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(สคช.) อยู่ในระหว่างการระดมความเห็นร่วมกับภาคีการพัฒนา ในระหว่างกระบวนการจัดทำกรอบพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) ในช่วงปลายปี ...
    • type-icon

      ประเมินผลระดับความสำเร็จในการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ปี 2561 

      พิภพ อุดร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-04-30)

      โครงการประเมินผลระดับความสำเร็จในการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ปี 2561เป็นการดำเนินการต่อเนื่องจากปี 2560 โดยมีเป้าหมายประเมินระดับความสำเร็จในการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืนใน 3 ระดับ คือระดับที่ 1 ชุมชนเข้มแข็ง จำนวน 29 ชุมชน ระดับที่ 2 ชุมชนเข้มแข็งพึ่งพาตนเอง จำนวน 40 ชุมชน และระดับที่ 3 ชุมชนเข้มแข็งพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน จำนวน 50 ชุมชน รวม 119 ชุมชนโดยในระดับที่ 1 และ 2 การเคหะแห่งชาติ (กคช.) เป็นผู้ประเมินชุมชนและสำรวจกลุ่มตัวอย่างในชุมชน ส่วนในระดับที่ 3 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นผู้ประเมินชุมชนและสำรวจความพึ ...
    • type-icon

      ปั้น SMEs สู่ B2C ฝ่าวิกฤตโควิด-19 

      สุรพิชย์ พรหมสิทธิ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-09-15)

      โครงการ ปั้น SMEs สู่ B2C ฝ่าวิกฤตโควิด-19 ประจำปีงบประมาณ 2563 จัดขึ้นภายใต้แนวคิดการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาผสมผสานกับการพัฒนากลยุทธ์ในการทำตลาดออนไลน์รูปแบบใหม่ มาช่วยพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ SMEs มีศักยภาพการตลาดออนไลน์ และขยายฐานลูกค้าใหม่ ในช่องทางตลาดออนไลน์ อันเนื่องมาจากสถานการณ์โควิด-19 ที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลทาให้เศรษฐกิจของประเทศเกิดการชะลอตัว โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้ความรู้แนวคิดและทักษะให้กับผู้ประกอบการ SMEs กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และบุคคลทั่วไปในการปรับใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและทำการตลาดออนไลน์บนตลาดกลางออนไลน์ (E-marketplace) ...
    • type-icon

      พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการและการบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Standard) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 

      ทวิดา กมลเวชช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-12-08)

      โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการและการบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Standard) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จัดทำขึ้นเพื่อให้สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปัจจุบันทั้งในแง่ของความซับซ้อนของการบริการสาธารณะ ศักยภาพและความสามารถ รวมถึงระเบียบ กฎหมายและข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานทั้งสองด้านขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมาตรฐานการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ เป็นการรวบรวมรายละเอียดเนื้อหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสาธารณภัยของประเทศไทยที่องอยู่กับพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ...
    • type-icon

      พัฒนาตัวชี้วัดและวัดระดับสันติภาพในสังคมไทย 

      เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-10-29)

      เชื่อมโยง Link: http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/1070
    • Thumbnail

      พัฒนานวัตกรต้นแบบ (MRTA Academy and MRTA Innovator) ปีงบประมาณ 2565 

      อาสาฬห์ สุวรรณฤทธิ์ (สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2022-12-27)

      รายละเอียดตามเอกสารแนบ
    • type-icon

      พัฒนาประสิทธิภาพการต่อต้านการทุจริตและส่งเสริมจริยธรรมกระทรวงพลังงาน 

      สุรพิชย์ พรหมสิทธิ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565-04-26)

      สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงานได้ร่วมกับสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดทำโครงการพัฒนาประสิทธิภาพการต่อต้านการทุจริตและส่งเสริมจริยธรรมกระทรวงพลังงาน โดยมีการดำเนินการศึกษา ทบทวน ยุทธศาสตร์ชาติ กฎหมาย แผนงานด้านการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมและการป้องกันการทุจริต ทบทวนแนวคิดทฤษฎี วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องจากทั้งในประเทศและต่างประเทศ วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จในการพัฒนาระดับคุณธรรมจริยธรรม รวมถึงปัจจัยเสี่ยงด้านคุณธรรมจริยธรรมและความเสี่ยงด้านการทุจริตของสำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน ได้มีการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติ ...
    • type-icon

      พัฒนาระบบงานทรัพยากรบุคคล ประจำปี 2561 

      ศุภชัย ศรีสุชาติ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-23)

      การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ได้ดำเนินโครงการพัฒนาระบบงานทรัพยากรบุคคลประจำปี 2561 โดยประกอบด้วยการปรับปรุงสมรรถนะหลักขององค์กร (Corporate Core Competency) สมรรถนะหลักของบุคลากร (Employee Core Competency) สมรรถนะด้านการบริหาร (Managerial Competency) เพื่อให้สอดรับกับแผนวิสาหกิจฉบับใหม่ปีงบประมาณ 2560–2564 โครงการฯดังกล่าวนี้ ยังรวมถึงการดำเนินการพัฒนาในส่วนของการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรที่มีศักยภาพสูง และการจัดทำแผนการเตรียมความพร้อมบุคลากรขึ้นสู่ตำแหน่งผู้บริหารองค์กรด้วย ข้อเสนอสมรรนถะหลักขององค์กรที่ปรับปรุงใหม่ ประกอบด้วย (1) ...
    • type-icon

      พัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) 

      วสิศ ลิ้มประเสริฐ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-08-17)

      กรมศิลปากร มีภารกิจ คุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริมสร้างสรรค์ เผยแพร่ศึกษาค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาติ และความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี การสื่อสารแบบไร้พรมแดน ทำให้เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย จึงส่งผลให้เกิดข้อมูลขนาดใหญ่ในโลกออนไลน์ อีกทั้งข้อมูลที่จัดเก็บมาตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยมีแนวโน้นว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งนี้กรมศิลปากรมีการบริหารจัดการระบบสารสนเทศและระบบฐานข้อมูล ให้มีความเป ...
    • type-icon

      พัฒนาหลักสูตรสร้างผู้นำและเครือข่ายด้านนวัตกรรมระดับท้องถิ่น 

      ทวิดา กมลเวชช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565-01-18)

      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักสูตร “สร้างผู้นำและเครือข่ายด้านนวัตกรรมระดับท้องถิ่น”และเพื่อสร้างหลักสูตรที่มีการเสริมสร้างศักยภาพผู้นำภาครัฐและเอกชนส่วนท้องถิ่นให้มีแนวความคิดที่เป็นนวัตกรรมโดยพัฒนาความรู้และความเข้าใจบ่มเพาะทักษะและกระบวนทัศน์ เพื่อเปลี่ยนให้กลายเป็นผู้นำที่มีแนวคิดเชิงนวัตกรรม ซึ่งได้มีการศึกษาเอกสารและทบทวนวรรณกรรมทางวิชาการและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1) แนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบคุณลักษณะของผู้นำระดับท้องถิ่น 2) รายละเอียดกลไกของสำนักงานนวั ตกรรมแห่งชาติในระดับเอกชน ชุมชน และท้องถิ่น 3) ระบบการทำงานขององค์ ...
    • type-icon

      พัฒนาองค์กรและระบบการจัดส่งแรงงานไทยไปทำงานต่างประเทศโดยรัฐ 

      ศุภชัย ศรีสุชาติ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-12-04)

      รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์กรและระบบการจัดส่งแรงงานไทยไปทำงานต่างประเทศโดยรัฐใช้การศึกษาแบบผสมผสาน (Mixed methods) จากการศึกษาเอกสาร การสำรวจด้วยแบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เกี่ยวข้อง และการศึกษาดูงานหน่วยงานด้านการส่งแรงงานไปต่างประเทศของประเทศฟิลิปปินส์ การศึกษามีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษา/วิเคราะห์ปัญหาการจัดส่งแรงงานไทยไปทำงานต่างประเทศโดยรัฐ รวมทั้งแนวโน้มความต้องการแรงงานในอนาคต 2) เพื่อให้คำปรึกษา รวมทั้งเสนอแนะรูปแบบองค์กรและแนวทางการให้บริการจัดส่งแรงงานไทยไปทำงานต่างประเทศโดยรัฐที่มีประสิทธิภาพ โดยมีเป้าหมายสำคัญ คือ ...
    • type-icon

      พัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่นเพื่อรองรับโอกาสเเละผลกระทบจากการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตามเเนวระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ 

      แก้วขวัญ ตั้งติพงศ์กูล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-03-11)

      วัตถุประสงค์ของงานศึกษาประกอบด้วย 1) เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่นสู่ ความยั่งยืนของจังหวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตามแนวระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ โดยพิจารณาความเชื่อมโยงระหว่างประเทศกับประเทศเพื่อนบ้าน 2) เพื่อประเมินโอกาสและผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตามแนวระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้และการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน 3) เพื่อจัดทำแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่นสู่ความยั่งยืนเพื่อรองรับโอกาสและผลกระทบจากการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตามระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ และ 4) เพื่อนำองค์ความรู้จากการศึกษาวิจัยมา ...
    • type-icon

      พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการดำเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานของกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ประจำปี 2561 

      อุรุยา วีสกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-08-10)

      วัตถุประสงค์ของโครงการ : 1. เพื่อให้การปฏิบัติงานของกองทุนฯ สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีทิศทางการดำเนินงานระยะยาวที่ชัดเจน สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาพลังงานของประเทศ การอนุรักษ์พลังงาน และการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน 2. เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการดำเนินการของกองทุนฯ ให้เหมาะสมสอดคล้องกับทิศทางของยุทธศาสตร์อนุรักษ์พลังงาน ระเบียบ หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนฯ และเกณฑ์การชี้วัดของกรมบัญชีกลาง 3. เพื่ออำนวยการให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็น ร่วมกำหนดแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงการดำเนินงานของกองทุนฯ และดำเนินการในแผนต่าง ...
    • type-icon

      ยกระดับการกำกับดูแลกิจการที่ดี (CG) และการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (CSR) 

      วีรบูรณ์ วิสารทสกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-21)

      โครงการการยกระดับการกำกับดูแลกิจการที่ดี (CG) และการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม (CSR) มีที่มาจากองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) มีแนวทางการบริหารจัดการองค์กรที่สอดคล้องตามทิศทางนโยบายของรัฐบาล ที่มุ่งสู่การเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมโคนมไทยที่มี ความรับผิดชอบต่อสังคม และสร้างความมั่นคงในอาชีพการเลี้ยงโคนมอย่างยั่งยืน โดยเน้นกระบวนการทำแผนและทบทวนแผนการปฏิบัติงานประจำปีทุกปี เพื่อให้การนำแผนไปสู่การปฏิบัติใน อ.ส.ค. โดยได้ทำการทบทวนแผนวิสาหกิจ 5 ปี (พ.ศ. 2560 – 2564) สำหรับปี พ.ศ. 2561 โดยนำนโยบายประเทศไทย 4.0 (THAILAND 4.0) ...
    • type-icon

      ยกระดับขีดความสามารถของสำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) เพื่อขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาระดับพื้นที่ 

      อรพรรณ คงมาลัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-06)

      อุตสาหกรรมไมซ์เป็นอุตสาหกรรมที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับประเทศสูง เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่ผนวกเรื่องการเดินทางและการทำงาน/ประกอบธุรกิจ ทำให้เกิดประโยชน์อย่างน้อย 2 ประการได้แก่ 1) เกิดการใช้จ่ายของนักเดินทางไมซ์และการจ้างงานเพื่อจัดกิจกรรมการจัดประชุม/สัมมนา/นิทรรศการ/การท่องเที่ยวต่างๆ ซึ่งนักเดินทางไมซ์เป็นนักเดินทางธุรกิจย่อมมีการใช้จ่ายในอัตราสูงกว่าการท่องเที่ยวแบบทั่วไป และ 2) เป็นโอกาสในการสนับสนุน ความโดดเด่นของธุรกิจ/อุตสาหกรรมของเมืองที่จัดงานให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ปัจจุบันอุตสาหกรรมไมซ์กระจุกตัวอยู่ในกรุงเทพมหานครและปริมาณฑล ...