Now showing items 1-7 of 7

    • type-icon

      จัดทำแผนพัฒนาการเมือง ฉบับที่ 2 

      ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์, โกวิทย์ พวงงาม, อรรถสิทธิ์ พานแก้ว (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      จากสภาพปัญหาทางการเมืองไทยตลอดระยะเวลากว่า 8 ทศวรรษ ที่แม้จะผ่านการปฏิรูปทางการเมืองมาหลายครั้งก็ยังไม่สามารถจะพัฒนาไปสู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่มั่นคงถาวรได้ ซึ่งสาเหตุสำคัญประการหนึ่งคือ การไม่มีแผนพัฒนาการเมืองที่ชัดเจน เพื่อจะกำหนดแนวทางการพัฒนาประชาธิปไตยให้มีความต่อเนื่อง ดังนั้นในรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550 จึงได้กำหนดให้จัดทำแผนพัฒนาการเมืองขึ้น โดยให้สภาพัฒนาการเมืองเป็นผู้จัดทำ หลังการจัดทำแผนพัฒนาการเมือง ฉบับที่ 1 ของสภาพัฒนาการเมืองแล้วเสร็จ ผลที่เกิดขึ้นไม่ได้เป็นดังความคาดหวังเนื่องจาก แผนพัฒนาการเมืองไม ...
    • type-icon

      บทบาทสตรีกับการมีส่วนร่วมในการเมืองภาคพลเมือง 

      ฐิติพร ศิริพันธ์ พันธเสน; ศิรินทร์รัตน์ กาญจนกุญชร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2012)

      The entitled “The Roles of Women and their Participation in People’s Politics” aims at understanding the participation of Thai women in people’s politics which comprises diverse dimensions. The research explores the levels of engagement in participating in various actions using different means and strategies in order to secure social change. Additionally, motivation, enabling and disabling factors to women’s participation in people’s politics are examined. The researchers conducted the research using mixed-methodology. For the quantitative method, ...
    • type-icon

      ศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมืองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี 

      ทวิดา กมลเวชช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      กรุงเทพมหานครได้ดำเนินการตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556-2575)มาแล้วช่วงเวลาหนึ่งแต่ยังมีข้อจำกัดในการติดตามความก้าวหน้าของมหานครทั้ง 7 ยุทธศาสตร์ โดยพบว่ามีความไม่สอดคล้องกันระหว่างตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง กับภารกิจและอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร อีกทั้งการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 ที่กำหนดบทบาทและภารกิจของหน่วยงานต่าง ๆ ไว้อย่างชัดเจน และการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580) ซึ่งถือเป็นเป้าหมายหลักและทิศทางการพัฒนาที่สำคัญ โดยมีการประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) ...
    • type-icon

      ศึกษาข้อเสนอการถ่ายโอนภารกิจในการจัดบริการสาธารณะให้ภาคประชาสังคม/ชุมชน 

      วสันต์ เหลืองประภัสร์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      การดำเนินการ “โครงการศึกษาข้อเสนอการถ่ายโอนภารกิจการจัดบริการสาธารณะให้ภาคประชาสังคม/ชุมชน” โดยสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำนักงาน ก.พ.ร.) มีวัตถุประสงค์การศึกษาวิจัย คือ 1) เพื่อกำหนดขอบเขตภารกิจในการจัดบริการสาธารณะที่สามารถถ่ายโอนให้ภาคประชาสังคม /ชุมชนเข้ามามีบทบาทร่วมดำเนินการหรือดำเนินการแทนหน่วยงานภาครัฐ 2) เพื่อสร้างกลไกหรือเครื่องมือที่เป็นแนวทางสำหรับหน่วยงานภาครัฐในการส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคประชาสังคม/ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดบริการสาธารณะ และ 3) ...
    • type-icon

      ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพชุมชน และเศรษฐกิจชุมชน ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 

      เจียรนัย เล็กอุทัย; ยงธนิศร์ พิมลเสถียร; จารุณี พิมลเสถียร; พุฒพัณณิน คำวชิระพิทักษ์; วราลักษณ์ คงอ้วน (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      พื้นที่ส่วนใหญ่ของเทศบาลเมืองมาบตาพุดเป็นชุมชนอุตสาหกรรมที่ประกอบไปด้วยนิคมอุตสาหกรรมขนาดใหญ่มีการผลิตที่ก่อมลพิษสูง ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของชุมชนดั้งเดิมทั้งในด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และโดยเฉพาะสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม ส่งผลต่อความเสี่ยงในด้านคุณภาพชีวิตของชุมชนที่ตั้งอยู่ในเขตเทศบาล ในปัจจุบันได้มีมาตรการปกป้องคุ้มครองพื้นที่ในด้านการลดผลกระทบของมลพิษจากกิจการอุตสาหกรรมโดยการประกาศเป็นเขตควบคุมมลพิษ แต่ยังไม่มีมาตรการใดๆ ในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตในด้านประเพณี วัฒนธรรมของท้องถิ่น เทศบาลเมืองมาบตาพุดได้ตระหนักถึงความจำเป็นในเรื่องนี้ซึ่งเป็นหน ...
    • type-icon

      อนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า : กำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่ากลุ่มที่ 2 (เมืองเก่าราชบุรี เมืองเก่าสุรินทร์ เมืองเก่าภูเก็ต และเมืองเก่าระนอง) 

      วิลาวัณย์ ภมรสุวรรณ; สมบูรณ์ กีรติประยูร; ไตรเทพ วิชย์โกวิทเทน; มารุต สุขสมจิต; สุริยะกิจ ย่อมมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      เมืองเก่าเป็นเมืองที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะแห่งสืบต่อมาแต่กาลก่อน และมีเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมท้องถิ่น หรือมีรูปแบบผสมผสานของสถาปัตยกรรมท้องถิ่น หรือมีลักษณะของรูปแบบวิวัฒนาการทางสังคมที่สืบต่อมาของยุคต่างๆ ซึ่งมีคุณค่าในทางศิลปะ สถาปัตยกรรม โบราณคดี และประวัติศาสตร์ และยังมีการใช้สอยในลักษณะเมืองที่ยังมีชีวิตอย่างต่อเนื่องจากอดีตถึงปัจจุบัน เช่น กรุงรัตนโกสินทร์ เมืองเก่าเชียงใหม่ เมืองเก่าสงขลา เมืองเก่าน่าน เป็นต้น ปัจจุบันเมืองเก่าได้ถูกความเจริญและการขยายตัวของตัวเมืองอย่างไร้ทิศทาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินที่หลากหลายกิจกรรม ทั้งภาคราชการและเอกชน ...
    • type-icon

      เสริมสร้างประสิทธิภาพความสัมพันธ์ระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่นโดยผ่านกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนาท้องถิ่น 

      สกนธ์ วรัญญูวัฒนา (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      Putting into practice with current budgeting system still lacks integration and connection between central ministry/department, provincial and local administration. Moreover, community organization and civil society cannot link its plan to the governmental plan explicitly. Office of The National Economic and Social Development Board, therefore, initiates the project of improving efficiency in the connection between the central, regional and local administration through the process of designing provincial and local plan. To achieve its purposes, ...