Now showing items 1-10 of 10

    • type-icon

      การประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัย (Post - Disaster Needs Assessment :PDNA) เพื่อจัดทำกรอบการฟื้นฟูหลังเกิดสาธารณภัย (Post Disaster Recovery Framework :PDRF) 

      ณัฐพล แสงอรุณ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-26)

      โครงการศึกษาวิจัยการประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัย (Post Disaster Needs Assessment: PDNA) เพื่อจัดทำกรอบการฟื้นฟูหลังเกิดสาธารณภัย (Post Disaster Recovery Framework: PDRF) มี วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัย และกรอบการฟื้นฟูหลังเกิดสาธารณภัยให้แก่บุคลากรกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและหน่วยงานภาคี เครือข่ายที่เกี่ยวข้องให้สามารถประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัยตามแบบฟอร์มมาตรฐานสากล เพื่อจัดทำฐานข้อมูลการประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัย (PDNA baseline data) เพื่อให้ประเทศมี ...
    • type-icon

      การพัฒนาย่านนวัตกรรมพัทยา (Pattaya Innovation District Development) 

      นิจ ตันติศิรินทร์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-01-21)

      ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ทั้งรัฐบาลและเมืองพัทยา รวมถึงภาคธุรกิจและภาคประชาชนในท้องถิ่นต่างมีความเห็นร่วมกันในการพัฒนาเมืองพัทยา โดยมีเป้าหมายสำคัญในการสร้างภาพลักษณ์ใหม่ จากการเมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยวสีเทา ให้กลายเป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจการท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงที่ดี ในระดับภูมิภาคและระดับโลก สำหรับนักท่องเที่ยวคุณภาพทั้งชาวไทยและต่างชาติ นอกจากนี้การพัฒนาให้เมืองพัทยาเป็นเมืองที่สามารถดึงดูดการลงทุน เป็นที่ตั้งของธุรกิจที่หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างความเป็นย่านนวัตกรรม เพื่อให้สามารถสร้างนวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร ...
    • type-icon

      จัดทำผังแม่บทพัฒนาพื้นที่ การปรับปรุงภูมิทัศน์ และการออกแบบตลาดชุมชนบ้านร่ม 

      พีรดร แก้วลาย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565-07-22)

      สืบเนื่องจากพื้นที่บริเวณชุมชนบ้านร่มเป็นพื้นที่ชุมชนที่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชุมชนอย่างยาวนาน เป็นชุมชนที่มีศักยภาพในเชิงวัฒนธรรมในด้านอาหารและวัตถุดิบท้องถิ่น ประกอบกับทำเลที่ตั้งของชุมชนยังเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง เป็นพื้นที่ที่อยู่ติดกับพื้นที่บริเวณริมแม่น้ำปัตตานีมีความสมบูรณ์ในเชิงของระบบนิเวศทางธรรมชาติ และเป็นพื้นที่ที่การกระจุกตัวของหน่วยงานภาครัฐ เหมาะแก่การเป็นพื้นที่สาธารณะของเมืองที่ผสมผสานระหว่างธรรมชาติ และวัฒนธรรมท้องถิ่น นอกจากนี้ชุมชนบ้านร่ม เป็นชุมชนดั้งเดิมที่อยู่คู่กับพื้นที่มาอย่างยาวนาน ทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็งแล ...
    • type-icon

      พัฒนาการเปลี่ยนแปลงสังคม การเมืองไทย และความคิดเรื่องการปฏิรูปที่เกี่ยวเนื่อง 

      ธีรยุทธ บุญมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562)

      เข้าถึงข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ของสถาบัน http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/928
    • type-icon

      วิจัยเพื่อสำรวจภารกิจและงบประมาณของส่วนราชการในพื้นที่เกาะสมุย : การศึกษาเพื่อเตรียมข้อมูลสนับสนุนสำหรับการพัฒนาพื้นที่เกาะสมุยเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 

      ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-10-07)

      ผู้สนใจสามารถเข้าถึงข้อมูลงานวิจัยได้ที่ http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/1190
    • type-icon

      ศึกษาระเบียบและแนวทางปฏิบัติในการประเมินราคาทรัพย์สินเพื่อสนับสนุน การประเมินราคาที่ดินรายแปลง 

      สมเกียรติ วรปัญญาอนันต์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-12-30)

      โครงการศึกษาระเบียบและแนวทางปฏิบัติในการประเมินราคาทรัพย์สินเพื่อสนับสนุนการประเมินราคาที่ดินรายแปลงมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการในการกำหนดราคาประเมินทุนทรัพย์ของอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งใช้ในการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิ์และนิติกรรมให้เหมาะสมกับสภาวะการณ์ปัจจุบันและเกิดความเป็นธรรม การดำเนินโครงการฯ คณะวิจัยได้ทบทวนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องและจัดประชุมร่วมกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน เพื่อรับฟังความเห็นวิธีการดำเนินงานที่ควรปรับปรุงให้เหมาะสมและถูกต้อง โดยผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ง ...
    • type-icon

      สำรวจภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ปีงบประมาณ 2562 

      วีรบูรณ์ วิสารทสกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-19)

      การสำรวจภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.)ปีงบประมาณ 2562 มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ กทพ. จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7 กลุ่ม ประกอบด้วย (1) ผู้ใช้บริการทางพิเศษ (2) ภาครัฐในฐานะเจ้าของ (3) เจ้าหน้าที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (4) ผู้ได้รับผลกระทบจากการเวนคืน (5) คู่ค้า (6) ชุมชนรอบเขตทางพิเศษ และ (7) สังคม เพื่อนำผลที่ได้จากการศึกษาไปใช้ในการประเมินผลลัพธ์ในการดำเนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร และพัฒนาเป็นแนวทางในการส่งเสริมภาพลักษณ์ต่อดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ ...
    • type-icon

      ส่งเสริมการมีรายได้และการมีงานทำของผู้สูงอายุ ตามนโยบายประชารัฐเพื่อสังคม (E6) 

      ศุภชัย ศรีสุชาติ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-12-30)

      ประเทศไทยเป็นสังคมของผู้สูงอายุ โดยในปัจจุบันประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยมีประชากรที่อายุตั้งแต่ 60 ขึ้นไปประมาณ 10,225,322 คน คิดเป็นร้อยละ 15.82 ของประชากรทั้งหมด มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (2558) คาดการณ์ว่าประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ (ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด) ในปี พ.ศ.2564 และในปี พ.ศ.2574 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอด คือ ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 28 ของประชากรทั้งหมด การจ้างงานผู้สูงอายุเป็นมาตรการที่สำคัญของประเทศที่เป็นสังคมผู้สูงอายุ ...
    • type-icon

      เพื่อประเมินมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจและสังคมจากภารกิจ ของ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) ประจำปี 2561 

      เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-07-20)

      จากการประเมินมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมจากการดำเนินงานของสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) มีการสร้างมูลค่ารวมทั้งหมด 2,691.72 ล้านบาท ซึ่งเป็นการประมาณการจากโครงการจำนวน 30 โครงการ แบ่งตามยุทธศาสตร์ได้ดังนี้ 1. มูลค่าที่เกิดขึ้นตามยุทธศาสตร์ที่ 1 เท่ากับ 108.24 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.01 2. มูลค่าที่เกิดขึ้นตามยุทธศาสตร์ที่ 2 เท่ากับ 32.06 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.19 3. มูลค่าที่เกิดขึ้นตามยุทธศาสตร์ที่ 3 เท่ากับ 2,395.81 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 89.01 4. มูลค่าที่เกิดขึ้นตามยุทธศาสตร์ที่ 4 เท่ากับ 83.32 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ...
    • type-icon

      แผนที่ภาษี และทะเบียนทรัพย์สิน ระยะที่ 2 

      ธีร เจียศิริพงษ์กุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-07-02)

      ด้วยกระทรวงมหาดไทยมีนโยบายส่งเสริมสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปรับปรุงแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน เพื่อนำไปใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ องค์การบริหารส่วนตำบลอ้อมเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เห็นว่าควรมีการปรับปรุงระบบแผนที่ภาษีเดิมให้เป็นปัจจุบัน ซึ่งเมื่อดำเนินการเสร็จเรียบร้อยตามโครงการแล้ว จะทำให้องค์การบริหารส่วนตำบลอ้อมเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มีข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพย์สินต่าง ๆ ของประชาชนที่เป็นปัจจุบันไว้ใช้สำหรับการจัดเก็บภาษี (ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีโรงเรือน และที่ดิน ภาษีป้าย รวมทั้งค่าธรรมเนี ...