Now showing items 15-34 of 59

    • type-icon

      จัดทำแผนพัฒนาทางหลวงชนบทประจำกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กลุ่มที่ 8 

      ทัศฐา ศรีวาลัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-20)

      โครงการจัดทำแผนพัฒนาทางหลวงชนบทประจำกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีจุดประสงค์เพื่อ ศึกษาความเหมาะสมเบื้องต้นของโครงการยกระดับมาตรฐานชั้นทางให้แก่บุคลากรกรมทางหลวงชนบท และศึกษาการจัดทำแผนแม่บทบูรณาการโครงข่ายทางหลวงท้องถิ่น การศึกษาความเหมาะสมการยกระดับมาตรฐานชั้นทางนั้นได้ทำการรวบรวมข้อมูลสายทางในพื้นที่ศึกษา ข้อมูลปริมาณจราจรทั้งวันเฉลี่ยตลอดทั้งปี (AADT) ของสายทางในพื้นที่ศึกษา ข้อมูลกายภาพของสายทาง ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมภายในพื้นที่ศึกษา และทำการคัดเลือกสายทางที่ต้องทำการศึกษาความเหมาะสมของโครงการยกระดับมาตรฐานชั้นทาง จัดทำแบบจำลองด้าน ...
    • type-icon

      จัดทำแผนยุทธศาสตร์บริษัท ขนส่ง จำกัด ปีงบประมาณ 2560-2564 

      พัชรา พัชราวนิช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      โครงการจัดทำแผนยุทธศาสตร บริษัท ขนส่ง จำกัด (บขส.) ปงบประมาณ 2560-2564 มีวัตถุประสงคเพื่อกำหนดทิศทางและแนวทางปฏิบัติตามพันธกิจและภารกิจของ บขส. เพื่อใหสัมฤทธิ์ผลตามวิสัยทัศนและเปาประสงคของ บขส. ที่ตองการมุงสูการเปนศูนยกลางธุรกิจการขนสงดวยรถโดยสารที่ทันสมัยไดมาตรฐาน บริการเปนที่ยอมรับ เชื่อมโยงทั่วภูมิภาค รวมถึงมีความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม โดยไดใหความสำคัญกับการเพิ่มความสามารถในการสรางรายไดอยางยั่งยืน การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินทรัพย การยกระดับมาตรฐานคุณภาพในการใหบริการ เพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดแกผูใ ...
    • type-icon

      จัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์การจราจร บนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และหมายเลข 9 

      วินัย รักสุนทร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-24)

      รายงานฉบับนี้เป็นรายงานการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณจราจร ประจำปี พ.ศ. 2557 บนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และ หมายเลข 9” ของกองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม โดยข้อมูลการวิเคราะห์จะแบ่งออกเป็นการรายงานปริมาณจราจรแยกประเภทบริเวณทางเข้าและออกจากระบบทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ปริมาณจราจรบนสายทางของแต่ละช่วงทางต่างระดับ และการวิเคราะห์หาคุณภาพของการให้บริการ (Quality of services) ของแต่ละช่วงทางทางระดับการจราจรบนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 มีปริมาณที่หนาแน่นเฉพาะบนช่วงถนนระหว่างทางต่างระดับศรีนครินทร์ถึงทางต่างระดับสุวรรณภูมิในทั้งสองทิศทางสำหรับช ...
    • type-icon

      จัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์การจราจร บนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และหมายเลข 9 

      วินัย รักสุนทร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-12)

      รายงานฉบับนี้เป็นรายงานการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณจราจร ประจำปี พ.ศ. 2560-2561 บนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และหมายเลข 9” ของกองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม โดยข้อมูลการวิเคราะห์จะแบ่งออกเป็น การรายงานปริมาณจราจรแยกประเภทบริเวณทางเข้าและออกจากระบบทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ปริมาณจราจรบนสายทางของแต่ละช่วงทางต่างระดับ และการวิเคราะห์หาคุณภาพของการให้บริการ (Quality of services) ของแต่ละช่วงทางทางระดับ การจราจรบนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 มีปริมาณที่หนาแน่นเฉพาะบนช่วงถนนระหว่างทางต่างระดับศรีนครินทร์ถึงทางต่างระดับสุวรรณภูมิในทั้งสองทิศทาง ...
    • type-icon

      จัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์การจราจร บนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และหมายเลข 9 

      วินัย รักสุนทร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-24)

      รายงานฉบับนี้เป็นรายงานการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณจราจร ประจำปี พ.ศ. 2560 บนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และ หมายเลข 9” ของกองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม โดยข้อมูลการวิเคราะห์จะแบ่งออกเป็น การรายงานปริมาณจราจรแยกประเภทบริเวณทางเข้าและออกจากระบบทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ปริมาณจราจรบนสายทางของแต่ละช่วงทางต่างระดับ และการวิเคราะห์หาคุณภาพของการให้บริการ (Quality of services) ของแต่ละช่วงทางทางระดับ การจราจรบนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 มีปริมาณที่หนาแน่นเฉพาะบนช่วงถนนระหว่างทางต่างระดับศรีนครินทร์ถึงทางต่างระดับสุวรรณภูมิในทั้งสองทิศทางสำหรั ...
    • type-icon

      จัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์การจราจรบนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และ/หรือ 9 

      วินัย รักสุนทร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-12)

      รายงานฉบับนี้เป็นรายงานการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณจราจร ประจำปีงบประมาณ 2562 บนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และ หมายเลข 9” (ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2561 ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2562) ของกองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม โดยข้อมูลการวิเคราะห์จะแบ่งออกเป็น การรายงานปริมาณจราจรแยกประเภทบริเวณทางเข้าและออกจากระบบทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ปริมาณจราจรบนสายทางของแต่ละช่วงทางต่างระดับ และการวิเคราะห์หาคุณภาพของการให้บริการ (Quality of services) ของแต่ละช่วงทางทางระดับการจราจรบนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 มีปริมาณที่หนาแน่นเฉพาะบนช่วงถนนระหว่างทางต่างระ ...
    • type-icon

      จ้างที่ปรึกษาพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลโครงการเงินกู้เพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและระบบขนส่งทางถนน ระยะเร่งด่วน 

      ชัยวัฒน์ อุตตมากร; วีริศ อัมระปาล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      โครงการจ้างที่ปรึกษาพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลโครงการเงินกู้เพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและระบบขนส่งทางถนน ระยะเร่งด่วน มีวัตถุประสงค์ดังนี้ • เพื่อยกระดับคุณภาพงานวางแผน ติดตามและประเมินผลโครงการเงินกู้ฯ ของกรมทางหลวงชนบท • เพื่อประเมินผลลัพธ์ความเชื่อมั่นและความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการดำเนินงานโครงการเงินกู้ฯ • เพื่อพัฒนาระบบงานในการติดตามความก้าวหน้าของโครงการ โดยใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการสำรวจ จัดเก็บ วิเคราะห์ แสดงผล และจัดทำรายงานข้อมูลเชิงพื้นที่และเพิ่มประสิทธิภาพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกร ...
    • type-icon

      ตรวจสอบสภาพความเสียหายของ Pier Segment โครงการก่อสร้าง ถนนสาย ฉ ผังเมืองรวมเมืองนครราชสีมา (สัญญาที่ 3) 

      สายันต์ ศิริมนตรี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      Pier segment ของสะพานคอนกรีตอัดแรงรูปกล่อง ในโครงการก่อสร้างถนนสาย ฉ ผังเมืองรวมเมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา (สัญญาที่ 3) ได้เกิดการแตกร้าวจึงเกิดความไม่มั่นใจในความปลอดภัยต่อการใช้งานของโครงสร้างสะพาน ห้างหุ้นส่วนจำกัด โชคชัยการโยธา ได้ติดต่อมายังสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้ทำการตรวจสอบ ผลการตรวจสอบพบว่า การแตกร้าวเสียหายเกิดจากการยกสะพานชั่วคราวที่บริเวณ Pier segment เพื่อทำการ Grout ในส่วน Bearing ของสะพาน โดยแผ่นเหล็กรองแม่แรงในการยกมีขนาดเล็กจนเกินไปทำให้เกิด Bearing stress ในคอนกรีตสูง เกิดการยุบตัวและการแตกร้าวของคอนกรีต ...
    • type-icon

      ที่ปรึกษาจัดทำแผนพัฒนาทางหลวงชนบทประจำกรม กลุ่มที่ 8 

      วีริศ อัมระปาล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงของโลกและประเทศไทย ได้ส่งผลกระทบต่อสภาพบริบทแวดล้อมของกรมทางหลวงชนบทเปลี่ยนแปลงไปด้วย ทั้งจากสภาพปัจจัยสิ่งแวดล้อมนอก รวมถึงสภาพปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายใน งานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อวางแนวทางและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากรมทางหลวงชนบท พ.ศ. 2560-2569 ที่เป็นแผนในระยะ10 ปี และแผนยุทธศาสตร์กรมทางหลวงชนบท พ.ศ. 2560-2569 ที่เป็นแผนในระยะ 4 ปี เพื่อใช้เป็นแนวทางในการนำแผนไปสู่การปฏิบัติโดยอาศัยกรอบแนวคิดของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management, NPM) แนวคิดการจัดทำยุทธศาสตร์ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ...
    • type-icon

      บำรุงรักษาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง 

      จิรพล สังข์โพธิ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-12)

      กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้เพื่อสนับสนุนการบริหารและการให้บริการ ที่ผ่านมากองทางหลวงพิเศษฯ ประสบความสำเร็จในการใช้งานระดับหนึ่ง อย่างไรก็ดีทางกองทางหลวงพิเศษฯ ยังขาดผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโดยตรง อาจเนื่องมาจากมิได้เป็นพันธกิจหลักของกองทางหลวงพิเศษฯ ดังนั้นกองทางหลวงพิเศษฯ จึงจำเป็นต้องมีผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบำรุงรักษาและปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ และการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อสนับสนุนกิจการต่าง ๆ ของกองทางหลวงพิเศษฯ รวมทั้งการให้คำแนะนำในการแก้ปัญหาด้านการบริหารจัด ...
    • type-icon

      บำรุงรักษาระบบและอุปกรณ์ งานบริหารจัดการฐานข้อมูลและรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง 

      จิรพล สังข์โพธิ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-24)

      กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (กท.) โดยงานอำนวยความปลอดภัยมีหน้าที่ในการให้บริการผู้ใช้รถใช้ถนนบนทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองที่ประสบปัญหาไม่ว่าจะในเรื่องของรถเสียหรืออุบัติเหตุ การดำเนินงานของงานอำนวยความปลอดภัยได้มีการนำเอาระบบอำนวยความปลอดภัย ซึ่งประกอบด้วยระบบสารสนเทศ ระบบแผนที่และ GPS เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการ และมีการนำเอาระบบติดตามรถยนต์ของทีมกู้ภัยโดยระบบ GPS มาใช้เพื่อติดตามรถกู้ภัย โดยระบบดังกล่าวสามารถที่จะส่งข้อความการขอความช่วยเหลือไปยังหน่วยกู้ภัย และสามารถติดตามการดำเนินงานของการกู้ภัยได้ การนำเอาระบบอำนวยความปลอดภัยและจราจรมาใช้ในกา ...
    • type-icon

      บำรุงรักษาระบบและอุปกรณ์ของหน่วยกู้ภัย 

      จิรพล สังข์โพธิ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-24)

      กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (กท.) โดยงานอำนวยความปลอดภัยมีหน้าที่ในการให้บริการผู้ใช้รถใช้ถนนบนทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองที่ประสบปัญหาไม่ว่าจะในเรื่องของรถเสียหรืออุบัติเหตุ การดำเนินงานของงานอำนวยความปลอดภัยได้มีการนำเอาระบบอำนวยความปลอดภัย ซึ่งประกอบด้วยระบบสารสนเทศ ระบบแผนที่และ GPS เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการ และมีการนำเอาระบบติดตามรถยนต์ของทีมกู้ภัยโดยระบบ GPS มาใช้เพื่อติดตามรถกู้ภัย โดยระบบดังกล่าวสามารถที่จะส่งข้อความการขอความช่วยเหลือไปยังหน่วยกู้ภัย และสามารถติดตามการดำเนินงานของการกู้ภัยได้ การนำเอาระบบอำนวยความปลอดภัยและจราจรมาใช้ในกา ...
    • Thumbnail

      ปรับปรุง Backup Site ของกรมทางหลวงชนบท 

      ทวีศักดิ์ กิจกาญจนารัตน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)
    • type-icon

      พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการขนส่งสินค้าทางถนนรองรับการเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 

      รุธิร์ พนมยงค์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      In 2013, the research is focus on the transportation data of Myanmar, Cambodia, Malaysia andSingapore. The scopes of the research are: 1. Studying and collecting data of infrastructures, transportation network, rules and regulations in the prospect countries 2. Survey the potential land transportation routes of the cargo between Thailand and other prospect countries 3. Developing and creating network for the land transportation in the regions both forprivate and government sectors The objectives of the research are enhancing the capabilities ...
    • type-icon

      พัฒนาสายทางเพื่อสนับสนุนการขนส่งสินค้าเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมผ่านรถไฟรางคู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 

      วีริศ อัมระปาล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีความคาดหวังว่าจะมีการขนส่งสินค้าผ่านประเทศไทยมากขึ้น ทั้งนี้รัฐบาลมีโครงการที่สนับสนุนด้านการคมนาคมขนส่งหลากหลายโครงการ หนึ่งในนั้น คือ การก่อร้างรถไฟรางคู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งจะส่งผลต่อการลดต้นทุนการขนส่งได้อย่างมาก อย่างไรก็ตาม การขนส่งสินค้ามีโซ่อุปทานเริ่มจากแหล่งเพาะปลูกไปยังโรงงานแปรรูปส่งต่อไปยังผู้บริโภค ซึ่งการขนส่งสินค้าจากแหล่งผลิต มักใช้เส้นทางของกรมทางหลวงชนบท ที่มักไม่มีการออกแบบเพื่อรองรับการบรรทุกหนักส่งผลต่อการเสื่อ ...
    • type-icon

      พัฒนาหลักสูตรการสืบสวนอุบัติเหตุเชิงลึกและการพัฒนาบุคลากรด้านความปลอดภัย โดยวิธีตกลง 

      ภาวิณี เอี่ยมตระกูล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      สถานการณ์ความรุนแรงด้านความปลอดภัยทางถนนในโลก รายงานสถานการณ์ความปลอดภัยทางถนนของโลก พ.ศ.2558 (Global Status Report on Road Safety, 2015) โดยองค์การอนามัยโลก (WHO) การเสียชีวิตบนท้องถนนโดยแบ่งประเภทของผู้ใช้ถนนในแต่ละภูมิภาคของโลก และในภูมิภาคเอเชีย การเสียชีวิตส่วนใหญ่เกิดกับยานพาหนะชนิด 2 ล้อ รวมถึง ปัจจุบันประเทศไทยถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 2 ของประเทศที่มีอุบัติเหตุทางถนนมากที่สุดในโลก ซึ่งมีอัตราการเสียชีวิต 36.2 คนต่อประชากรหนึ่งแสนคน (รองจากประเทศลิเบียที่เสียชีวิต 73.4 คน ต่อประชากรหนึ่งแสนคน) โดยมีผู้เสียชีวิตตามที่คาดการณ์เท่ากับ 24,237 ...
    • type-icon

      พัฒนาเครือข่ายโลจิสติกส์ด้านการขนส่งสินค้าทางถนนรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษเชื่อมโยงสู่ประเทศเพื่อนบ้าน 

      รุธิร์ พนมยงค์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-10)

      ปัจจุบัน การค้าระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้านในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง หรือ GMS มีมูลค่าสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประเทศไทยจึงได้ลงนามเข้าเป็นภาคในความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกการขนส่งข้ามแดนในอนุภูมิลุ่มแม่น้ำโขง (GMS Cross-Border Transport Agreement: GMS CBTA) โดยมีวัตถุประสงค์ในการอำนวยความสะดวกและขจัดอุปสรรคในการขนส่งข้ามพรมแดนระหว่างกัน อย่างไรก็ตาม หลังจากที่ความตกลงมีผลบังคับใช้ พบว่ายังคงมีอุปสรรคหลายประการ โดยเฉพาะในด้านกฎระเบียบ มาตรฐาน และกระบวนการข้ามแดนและผ่านแดนที่แตกต่างกันของแต่ละประเทศ กรมการขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคม ...
    • type-icon

      พัฒนาแบบจำลองและระบบตรวจวิเคราะห์ความมั่นคงแข็งแรงสะพาน ระยะที่ 3 

      กฤดายุทธ์ ชมภูมิ่ง (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      ในปัจจุบันสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งเป็นโครงสร้างขนาดใหญ่และอยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบทหลายแห่งได้มีการใช้งานมาอย่างต่อเนื่องยาวนานและรองรับปริมาณการจราจรและน้ำหนักบรรทุกที่เพิ่มมากขึ้นทุกๆ ปี จึงทำให้โครงสร้างสะพานเกิดการเสื่อมสภาพและมีความชำรุดเสียหาย การตรวจสอบและประเมินความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างสะพานเหล่านี้จึงมีความสำคัญเพื่อให้ทราบถึงสภาพความชำรุดเสียหายและความสามารถในการรับน้ำหนักบรรทุกของโครงสร้างในสภาพปัจจุบัน กรมทางหลวงชนบทซึ่งมีหน้าที่ในการดูแลและบำรุงรักษาสะพานจึงได้ริเริ่มและดำเนินโครงการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาระบบต ...
    • type-icon

      ศึกษา สำรวจเพื่อการประเมินและให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง และออกแบบโครงการสร้างพื้นฐานการขนส่งสาธารณะเพื่อคนพิการ เด็ก และผู้สูงอายุของกระทรวงคมนาคม ระยะที่ 3 

      ศรีศักดิ์ พัฒนวศิน (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      สืบเนื่องจากกระทรวงคมนาคมได้ออกกฎกระทรวงกาหนดลักษณะ หรือการจัดให้มีอุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวกหรือบริการในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ และบริการขนส่ง เพื่อให้คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ พ.ศ. 2556 กระทรวงคมนาคมจึงมีนโยบายทำการสำรวจโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งสาธารณะที่อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงคมนาคม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นที่มีโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งสาธารณะอยู่ในความรับผิดชอบ จึงได้มอบหมายให้สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ดำเนินโครงการศึกษา สำรวจ เพื่อการประเมินและให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานการขนส่ง ...
    • type-icon

      ศึกษาความเร็วปลอดภัยบนทางหลวงเพื่อการกำหนดความเร็วที่เหมาะสม 

      วินัย รักสุนทร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      จากการสำรวจความเร็วของยานพาหนะบนทางหลวง จำนวน 380 จุดสำรวจพบว่า ผู้ขับขี่จำนวนมากไม่สามารถขับขี่ภายใต้ความเร็วที่กฎหมายกำหนด และมีการกระจายตัวของความเร็วมากจนเกินไป ซึ่งอาจส่งผลให้โอกาสของการเกิดอุบัติเหตุบนทางหลวงสูงขึ้นได้ นั่นเป็นผลสืบเนื่องมาจากค่าความเร็วจำกัดที่บังคับใช้ในปัจจุบันมีความไม่เหมาะสมกับทางหลวงในประเทศไทย ควรมีการนำลักษณะกายภาพของถนนไปเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณากำหนดความเร็วจำกัด นอกจากปัจจัยหลักที่นำไปใช้อ้างอิงในปัจจุบัน (เขตชุมชนและเขตนอกเมือง) สำหรับการศึกษาพฤติกรรมการใช้ความเร็ว ณ ตำแหน่งจุดเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุพบว่า ...