Now showing items 1-4 of 4

    • type-icon

      จัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาการท่องเที่ยว พ.ศ.2561-2564 ของกรมการท่องเที่ยว 

      ธนวัต ลิมป์พาณิชย์กุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      กรมการท่องเที่ยวมีภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนาการท่องเที่ยวในด้านแหล่งท่องเที่ยว การบริการท่องเที่ยว ธุรกิจนำเที่ยว มัคคุเทศก์ และผู้นำเที่ยว มาตรฐานอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว รวมถึงการสร้างภาพยนตร์ต่างประเทศในราชอาณาจักร ให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ กฎหมายว่าด้วยธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์กฎหมายว่าด้วยภาพยนตร์และวีดิทัศน์ เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างภาพยนตร์ต่างประเทศในราชอาณาจักร และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ...
    • type-icon

      ท่องเที่ยวปลอดภัย ใส่ใจบัตรช้าง (บัตรมาตรฐานการท่องเที่ยวไทย) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 

      อาณัติ ลีมัคเดช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      The project will develop website and mobile application to support tourists in seeking the shops/hotels where the Tourism department awarded the TTS. In addition, we produce 10,000 plastic cards for TTS membership to promote tourism and publicize the activities through various media.
    • type-icon

      พัฒนารูปแบบการจัดการข้อร้องเรียนตามพระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 

      ทวีศักดิ์ กิจกาญจนารัตน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      โครงการพัฒนารูปแบบการจัดการข้อร้องเรียนตามพระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ.2551 เป็นโครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณโดยกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โครงการฯ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา รวบรวมข้อมูลในการพัฒนาแนวทางการจัดการข้อร้องเรียนตามพระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 และเพื่อจัดทำคู่มือการจัดการข้อร้องเรียนสำหรับผู้ปฏิบัติงานขอบเขตของการดำเนินงานโครงการ ประกอบด้วย การศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของกรมการท่องเที่ยวในการจัดการข้อร้องเรียนของนักท่องเที่ยวผ่านช่องทางต่างๆ รวมถึงการรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อดี ...
    • type-icon

      พัฒนาสื่อข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวโดยผ่านเทคโนโลยีบาร์โค้ด 2 มิติ (QR Code : Quick Response Code) 

      ชาวี บุษยรัตน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      การจัดการข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยวเป็นหนึ่งในแนวทางวิจัยที่มีผู้ให้ความสนใจเป็นจำนวนมาก เนื่องจากข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยวนั้นมีความซับซ้อน หลากหลายที่มา หลากหลายการเข้าถึง รวมทั้งต้องการวิธีและพื้นที่นำเสนอหรือแพลตฟอร์มที่แตกต่างกันออกไป อีกทั้งในปัจจุบันเทคโนโลยีใหม่ได้เปิดทางเลือกให้กับนักท่องเที่ยวได้เข้าถึงข้อมูลอย่างไม่มีขีดจำกัด การบริการจัดการข้อมูลเหล่านี้จำเป็นต้องผ่านการกลั่นกรอง คัดเลือก ทั้งกระบวนการจัดเก็บและนำเสนอทุกวันนี้โทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทสมาร์ทโฟน (Smart Phone) ได้รับความนิยมอย่างมากทั่วโลก และมีแอพพลิเคชั่นมากมายที่สามารถใช้ ...