Now showing items 23-30 of 30

    • type-icon

      สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ 

      ปัญจพร ชินชนะโชคชัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565-09-10)

      โครงการ “พฤติกรรมผู้บริโภคจากกระแสบนโลกออนไลน์ต่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหาร” เป็นโครงการวิจัยที่ได้รับทุนวิจัยจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ หรือ บพข. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้การกำกับดูแลของสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ โดยคณะผู้วิจัยได้ดำเนินการวิเคราะห์ และถอดรหัสประเด็นสาธารณะบนสังคมออนไลน์ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับการวิจัยของกลุ่มการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหาร จำนวน 7 โครงการวิจัยโดยใช้แนวคิดการรับฟังเสียงของกลุ่มผู้บริโภคบนสื่อสังคมออนไลน์ (Social Listening) ร่วมกั ...
    • type-icon

      ส่งเสริมและจัดทำแผนขับเคลื่อนการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล 

      ชุมเขต แสวงเจริญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-07-02)

      การท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวเพื่อรองรับการใช้งานสำหรับทุกคนให้สามารถเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวได้ องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (อพท.) สำนักงานพื้นที่พิเศษ 3 จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมและจัดทำแผนขับเคลื่อนการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล โดยมีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อสร้างต้นแบบสถานประกอบการที่สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้ทุกกลุ่ม ยกระดับมาตรฐานการบริการของสถานประกอบการโรงแรมและที่พัก ให้สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้ทุกกลุ่ม อาทิ เด็ก ผู้สูงวัย คนพิการ ได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม และ 2. เพื่อจัดทำแผ ...
    • type-icon

      แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวพำนักระยะยาว : กรณีศึกษาเฉพาะนักท่องเที่ยวอายุ 50 ปีขึ้นไปที่เดินทางมาเพื่อการพักผ่อน 

      ประยูร บุญประเสริฐ; บัวรัตน์ ศรีนิล; ไว จามรมาน; พรรณพัชร อิทธิโอภาสกุล; อลิสรา เจริญสวัสดิ์; ปราโมทย์ รัตนปิติกรณ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2002)

      การวิจัยนี้ได้ยามความหมายของ “การท่องเที่ยวพำนักระยะยาว” หมายถึง การเดินทางหรือการท่องเที่ยวมาเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจในประเทศไทย โดยผู้มีอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป ซึ่งมีสุขภาพดีและแข็งแรง และมีระยะเวลาในการพำนักนานวัน ไม่น้อยกว่า 1 เดือนขึ้นไป วัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอุปสงค์ (Demand) ด้านการท่องเที่ยวพำนักระยะยาว ศึกษาด้านอุปทาน (Supply) โอกาส และข้อจำกัดในการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวพำนักระยะยาวในประเทศไทย ศึกษาแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว กฎหมาย กฎระเบียบ ตลอดจนวิธีการดำเนินงานในการสนับสนุน ...
    • Thumbnail

      แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวผืนป่ามรดกโลกดงพญาเย็น - เขาใหญ่ 

      เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-12)

      ตามไฟล์แนบ
    • Thumbnail

      แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคกลาง พ.ศ. 2549-2552 

      สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; ไพรัช บวรสมพงษ์; สมศรี ศิริขวัญชัย; พงษ์ธร วราศัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2007)

      โครงการการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคกลางรวม 5 กลุ่มดำเนินการเพื่อสนับสนุนให้จังหวัดจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวจังหวัดพ.ศ. 2549-2552 เป็นกรอบในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบและยั่งยืน กำหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดและบูรณาการแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเข้ากับแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่างๆ
    • Thumbnail

      แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก พ.ศ. 2549-2552 

      สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; ไพรัช บวรสมพงษ์; สมศรี ศิริขวัญชัย; พงษ์ธร วราศัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2007)

      โครงการการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกรวม 4 จังหวัด ดำเนินการเพื่อสนับสนุนให้จังหวัดจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวจังหวัด พ.ศ. 2549-2552 เป็นกรอบในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบและยั่งยืน กำหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดและบูรณาการแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเข้ากับแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่าง ๆ
    • Thumbnail

      แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2549-2552 

      สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; ไพรัช บวรสมพงษ์; สมศรี ศิริขวัญชัย; พงษ์ธร วราศัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2007)

      โครงการการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือรวม 5 กลุ่ม ดำเนินการเพื่อสนับสนุนให้จังหวัดจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวจังหวัดพ.ศ. 2549-2552 เป็นกรอบในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบและยั่งยืน กำหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดและบูรณาการแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเข้ากับแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่าง ๆ
    • Thumbnail

      แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคเหนือ พ.ศ. 2549-2552 

      สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; ไพรัช บวรสมพงษ์; สมศรี ศิริขวัญชัย; พงษ์ธร วราศัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2007)

      โครงการการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด 19 จังหวัดในภาคเหนือดำเนินการเพื่อสนับสนุนให้จังหวัดจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวจังหวัดพ.ศ. 2549-2552 เป็นกรอบในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบ กำหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดและบูรณาการแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเข้ากับแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่างๆ