Now showing items 1-3 of 3

    • type-icon

      ขับเคลื่อนการจัดตั้งศูนย์ประสานงานการเสริมสร้างความสามัคคีปรองดองและความสมานฉันท์ 

      ชวนัสถ์ เจนการ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-19)

      โครงการขับเคลื่อนการจัดตั้งศูนย์ประสานงานการเสริมสร้างความสามัคคีปรองดองและความสมานฉันท์แห่งชาติในครั้งนี้ เป็นการดำเนินการระยะที่สองตามกรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี ของกระทรวงยุติธรรมที่กำหนดให้มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานระหว่างพื้นที่และส่วนกลาง สำหรับการประสานความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในพื้นที่ต่าง ๆ รวมถึงเพื่อให้เกิดการส่งเสริมกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์และสันติวัฒนธรรมควบคู่กันไป โดยในระยะที่สองนี้ ทางโครงการได้มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานเพิ่มเติมอีก 5 แห่ง ภายใต้ความร่วมมือจากมหาวิทยาลัย 5 แห่ง ประกอบไปด้วย มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ...
    • type-icon

      จัดทำหลักสูตรการอบรมผู้ทำหน้าที่นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์ โดยวิธีเฉพาะเจาะจง 

      ระพีพรรณ คำหอม (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      โครงการจัดทำหลักสูตรการอบรมผู้ทำหน้าที่นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เป็นการทำงานของสำนักกฎหมาย สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ร่วมกับ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สมาคมนักสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย และสภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ได้ร่วมกันจัดทำหลักสูตรฯ ผ่านการมีส่วนร่วมของผู้ทรงคุณวุฒิสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำให้หลักสูตรการอบรมมีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการพัฒนาบุคลากรที่จะต้องเข้ามาเป็นนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์ เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามหลักการของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได้อย่างเหมาะสมที่สุด ...
    • type-icon

      สำรวจสถานการณ์เกี่ยวกับการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังที่ผ่านกิจกรรมโครงการกำลังใจ 

      ศักดิ์ชัย เลิศพานิชพันธุ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      โครงการวิจัยการสำรวจสถานการณ์เกี่ยวกับการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังที่ผ่านกิจกรรมโครงการกำลังใจ ในพระดำริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันด้านการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังที่ผ่านกิจกรรมโครงการกำลังใจฯ ใน 3 รูปแบบกิจกรรมหลัก ในมิติเชิงคุณภาพเป็นตัวหลัก และเพื่อศึกษาแนวทางในการจัดกิจกรรมของโครงการกำลังใจฯ เพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเชิงบวกและแก้ไขฟื้นฟูผู้ต้องขังอย่างเหมาะสม ในบริบทของผู้ต้องขังที่ผ่านโครงการกำลังใจฯ 3 รูปแบบกิจกรรมหลัก อันประกอบด้วย 1. โครงการแม่และเด็กภายใต้โครงการกำลังใจในพระดำริฯ ...