Now showing items 41-60 of 82

    • Thumbnail

      ปรับแผนธุรกิจและเพิ่มขีดความสามารถ SMEs พื้นที่จังหวัดหนองบัวลำภู ประจำปีงบประมาณ 2559 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)
    • type-icon

      การแปรรูปวัสดุชีวมวลจากเส้นใยธรรมชาติเพื่อการประยุกต์ใช้งานเป็นแผ่นซับสเตรทของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 

      ศรุต อำมาตย์โยธิน (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      วัสดุเชิงประกอบของแบคทีเรียเซลลูโลส เตรียมได้จากแบคทีเรียเซลลูโลส และพอลิอะนีลีนโดยที่สารละลายพอลิอะนิลีนจะเข้าไปแทรกตามรูพรุนในโครงสร้างของแบคทีเรียเซลลูโลสที่มีขนาดระดับนาโน พอลิอะนิลีนเป็นที่นิยมและมีการนำมาประยุกต์ใช้งานอย่างแพร่หลาย เนื่องจากพอลิอะนิลีนจะแสดงสมบัติเป็นสารกึ่งตัวนำ จึงนำไปสู่อุตสาหกรรมการพัฒนาวัสดุเชิงประกอบสาหรับเซลล์แสงอาทิตย์ โดยตรวจสอบลักษณะโครงสร้างด้วยเทคนิค Fourier Transform Infrared Spectroscopy (FT-IR) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเกิดพันธะไฮโดรเจน (H-bond) ระหว่างแบคทีเรียเซลลูโลสกับพอลิอะนิลีน ตรวจสอบตำแหน่งพีคและระนาบผลึกด้วยวิธี ...
    • type-icon

      การแปรรูปวัสดุชีวมวลจากเส้นใยธรรมชาติเพื่อการประยุกต์ใช้งานเป็นแผ่นดูดซับน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม 

      ศรุต อำมาตย์โยธิน (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      สำหรับงานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาวัสดุเชิงประกอบของแบคทีเรียเซลลูโลสและพอลิเอทิลีนไกลคอล ซึ่งออกแบบเป็นแผ่นเยื่อบางขึ้นโดยการสกัดแบคทีเรียเซลลูโลสจากวุ้นมะพร้าวผสมกับพอลิเอทิลีนไกลคอล พบว่า พอลิเอทิลีนไกลคอลจะแทรกตัวเข้าไปในโครงสร้างรูพรุนของโครงร่างตาข่ายแบคทีเรียเซลลูโลส โดยศึกษาโครงสร้างทางจุลภาคด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) อย่างไรก็ตามวัสดุเชิงประกอบเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างกันจากการศึกษาโครงสร้างและหมู่ฟังก์ชันด้วยเทคนิค FTIR โดยที่หมู่ไฮดรอกซิลของทั้งแบคทีเรียเซลลูโลสและพอลิเอทิลีนไกลคอลสร้างพันธะระหว่างกัน นอกจากนี้ยังมีค่ากา ...
    • type-icon

      พัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก (Thailand Food Quality to the World) กิจกรรม: การลดต้นทุนการผลิตที่ยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วย Green Productivity 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก (Thailand Food Quality to the World) ของสถาบันอาหาร มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับคุณภาพการผลิตอาหารในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจบริการอาหารของไทยให้มีคุณภาพ ปลอดภัยและมีคุณค่าโภชนาการที่เหมาะสมซึ่งที่ปรึกษาของสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแนะนำได้นำหลักการ Green Productivity (GP) ไปประยุกต์ใช้ ในการเพิ่มศักยภาพและลดต้นทุนการผลิตให้แก่โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร จำนวน 4 แห่ง
    • type-icon

      ยกระดับการแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารไทยด้วยการลดต้นทุนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ปี 2558 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      อุตสาหกรรมอาหารนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมส่งออกที่สำคัญ ซึ่งในปัจจุบันการค้าโลกนับวันจะมีการเปิดเสรีมากขึ้น ส่งผลให้การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารของไทยไปยังตลาดโลกประสบกับอุปสรรคต่างๆ โดยเฉพาะการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน ซึ่งมีหลายประเทศที่สามารถผลิตอาหารเพื่อการส่งออกได้ นอกจากนี้การที่ผู้บริโภคในประเทศคู่ค้าสำคัญได้ให้ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงทำให้หันมาบริโภคสินค้าที่มาจากกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด จากอุปสรรคทางการค้าโลกดังกล่าว ...
    • type-icon

      ยกระดับการแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารไทยด้วยการลดต้นทุนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Good Practices on Productivity and Continuous Improving to Carbon Label) ปีงบประมาณ 2558 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      อุตสาหกรรมอาหารนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมส่งออกที่สำคัญ ซึ่งในปัจจุบันการค้าโลกนับวันจะมีการเปิดเสรีมากขึ้น ส่งผลให้การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารของไทยไปยังตลาดโลกประสบกับอุปสรรคต่างๆ โดยเฉพาะการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน ซึ่งมีหลายประเทศที่สามารถผลิตอาหารเพื่อการส่งออกได้ นอกจากนี้การที่ผู้บริโภคในประเทศคู่ค้าสำคัญได้ให้ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงทำให้หันมาบริโภคสินค้าที่มาจากกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด จากอุปสรรคทางการค้าโลกดังกล่าว ...
    • type-icon

      พัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก (Thailand Food Quality to the world) ปีงบประมาณ 2558 กิจกรรม: การลดต้นทุนการผลิตที่ยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วย Green Productivity 

      ไพรัช อุศุภรัตน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม ได้พยายามผลักดันให้โรงงานแปรรูปอาหารของไทยทุกระดับเข้าสู่ระบบคุณภาพสุขอนามัยในการผลิตระดับสากลมาอย่างต่อเนื่องมากกว่า 10 ปี แต่การดำเนินการไม่สามารถคลอบคลุมผู้ประกอบการในระบบผลิตอาหารได้อย่างทั่วถึงในระยะเวลาอันสมควร โดยเฉพาะผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก เนื่องจากยังขาดแรงจูงใจด้านการตลาด ขาดความพร้อมด้านงบประมาณในการปรับปรุงอาคารสถานที่การจัดจ้างที่ปรึกษา ขาดบุคลากรรองรับปัญหาเหล่านี้ต้องได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐในรูปแบบต่างๆ รัฐบาลจึงให้การสนับสนุนในการดำเนินการโครงการ “พัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาห ...
    • type-icon

      กิจกรรมศึกษาพฤติกรรรมผู้บริโภคอาหารไทยในประเทศเบลเยี่ยมและลักเซมเบิร์ก โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก (Thailand Food Quality to the World) ปี 2558 

      แก้วตา โรหิตรัตนะ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      จากการให้ความสำคัญของรัฐบาลในการสนับสนุนให้มีร้านอาหารไทยในต่างประเทศเพื่อเป็นศูนย์กลางการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ของประเทศไทย สถาบันอาหารและสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงมีความร่วมมือในการดำเนินงาน “กิจกรรม ศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคอาหารไทยในราชอาณาจักรเบลเยี่ยมและลักเซมเบิร์ก ภายใต้โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก” ในการศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยในการเลือก รับประทานอาหารของผู้บริโภคในราชอาณาจักรเบลเยียมและราชรัฐลักเซมเบิร์ก เพื่อเป็นแนวทางในการวางกลยุทธ์ผลักดันการเติบโตของธุรกิจร้านอ ...
    • type-icon

      ยกระดับการแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารไทยด้วยการลดต้นทุนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมประจำปีงบประมาณ 2557 

      ไพรัช อุศุภรัตน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      อุตสาหกรรมอาหารนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมส่งออกที่สำคัญ ซึ่งในปัจจุบันการค้าโลกนับวันจะมีการเปิดเสรีมากขึ้น ส่งผลให้การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารของไทยไปยังตลาดโลกประสบกับอุปสรรคต่างๆ โดยเฉพาะการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน ซึ่งมีหลายประเทศที่สามารถผลิตอาหารเพื่อการส่งออกได้ นอกจากนี้การที่ผู้บริโภคในประเทศคู่ค้าสำคัญได้ให้ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงทำให้หันมาบริโภคสินค้าที่มาจากกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด จากอุปสรรคทางการค้าโลกดังกล่าว ...
    • type-icon

      ยกระดับการแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารไทยด้วยการลดต้นทุนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2557 

      ไพรัช อุศุภรัตน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      อุตสาหกรรมอาหารนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมส่งออกที่สำคัญ ซึ่งในปัจจุบันการค้าโลกนับวันจะมีการเปิดเสรีมากขึ้น ส่งผลให้การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารของไทยไปยังตลาดโลกประสบกับอุปสรรคต่างๆ โดยเฉพาะการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน ซึ่งมีหลายประเทศที่สามารถผลิตอาหารเพื่อการส่งออกได้ นอกจากนี้การที่ผู้บริโภคในประเทศคู่ค้าสำคัญได้ให้ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงทำให้หันมาบริโภคสินค้าที่มาจากกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด จากอุปสรรคทางการค้าโลกดังกล่าว ...
    • type-icon

      พัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก กิจกรรมด้านเพิ่มศักยภาพผลิตและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Productivity & Environment) กิจกรรมย่อย: ยกระดับการแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารไทยด้วยการลดต้นทุนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Carbon Label) ปีงบประมาณ 2559 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      อุตสาหกรรมอาหารนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิของประเทศ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมส่งออกที่สำคัญ ซึ่งในปัจจุบันการค้าโลกนับวันจะมีการเปิดเสรีมากขึ้น ส่งผลให้การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารของไทยไปยังตลาดโลกประสบกับอุปสรรคต่างๆ โดยเฉพาะการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน ซึ่งมีหลายประเทศที่สามารถผลิตอาหารเพื่อการส่งออกได้ นอกจากนี้การที่ผู้บริโภค ในประเทศคู่ค้าสำคัญได้ให้ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงทำให้หันมาบริโภคสินค้าที่มาจากกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด จากอุปสรรคทางการค้าโลกดังกล่าว ...
    • type-icon

      พัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก กิจกรรมด้านเพิ่มศักยภาพการผลิตและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Productivity & Environment) กิจกรรมย่อย : ยกระดับการแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารไทยด้วยการลดต้นทุนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Carbon Label) ปีงบประมาณ 2559 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      อุตสาหกรรมอาหารนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิของประเทศ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมส่งออกที่สำคัญ ซึ่งในปัจจุบันการค้าโลกนับวันจะมีการเปิดเสรีมากขึ้น ส่งผลให้การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารของไทยไปยังตลาดโลกประสบกับอุปสรรคต่างๆ โดยเฉพาะการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน ซึ่งมีหลายประเทศที่สามารถผลิตอาหารเพื่อการส่งออกได้ นอกจากนี้การที่ผู้บริโภค ในประเทศคู่ค้าสำคัญได้ให้ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงทำให้หันมาบริโภคสินค้าที่มาจากกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด จากอุปสรรคทางการค้าโลกดังกล่าว ...
    • type-icon

      ลำปางเมืองเซรามิก กิจกรรม การพัฒนาคุณภาพและพัฒนารูปแบบเซรามิกเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลำปาง 

      ศรีชนา เจริญเนตร; จำลอง สุวรรณชาติ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      โครงการมีวัตถุประสงค์ คือ (1) เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เซรามิกของหมู่บ้านท่องเที่ยวเซรามิกจังหวัดลำปางให้มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ด้วยรูปแบบใหม่ๆ ที่มีเอกลักษณ์และภูมิปัญญาท้องถิ่น (2) เพื่อส่งเสริมให้มีการผลิตสินค้าประเภทของที่ระลึกสำหรับการท่องเที่ยวภายในหมู่บ้าน (3) เพื่อเสริมสร้างผู้ประกอบการเซรามิกในพื้นที่ให้มีศักยภาพและขีดความสามารถในการผลิตและการตลาดเพิ่มสูงขึ้น โดยมีกลุ่มเป้าหมาย/ตัวชี้วัด/ผลลัพธ์ (1) กลุ่มเป้าหมาย: ผู้ประกอบการเซรามิกในหมู่บ้านท่องเที่ยวเซรามิกบ้านศาลาบัวบกและบ้านศาลาเม็ง ตำบลท่าผา อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง จำนวนอย่างน้อย 10 ราย ...
    • type-icon

      ศึกษาศักยภาพอุตสาหกรรมการออกแบบของประเทศไทย 

      พีรดร แก้วลาย; ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      เศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นส่วนหนึ่งในยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบจึงได้จัดทำโครงการศึกษาศักยภาพอุตสาหกรรมการออกแบบของประเทศไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลแสดงถึงศักยภาพของอุตสาหกรรมการออกแบบ และกำหนดแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมการออกแบบได้อย่างครอบคลุม ประกอบด้วย 8 อุตสาหกรรมการออกแบบคือ (1) สาขาสถาปัตยกรรม (2) สาขาสถาปัตยกรรมภายใน (3) สาขาภูมิสถาปัตยกรรม (4) สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ (5) สาขาเรขศิลป์ (6) สาขาแอนิเมชั่นและคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (7) สาขาออกแบบนิทรรศการ และ (8) การออกแบบบริการ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดเก็บ ...
    • type-icon

      การจัดทำฐานข้อมูลแบบ Gate to Gate และ Cradle to Gate ของอุตสาหกรรมหม่อนไหม (ไหมหัตถกรรม) 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      ในปัจจุบันการเติบโตและขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ รวมถึงการพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม และการบริโภคสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐานและอานวยความสะดวกแก่มนุษย์ ประเทศไทยก็เช่นเดียวกันที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจนั้นอย่างหนึ่งคือ สินค้าส่งออก ซึ่งสินค้าส่งออกที่ประเทศไทยมีการผลิตตั้งแต่ต้นสายจนถึงปลายสาย ชนิดหนึ่ง คือ สินค้าจากภูมิปัญญาพื้นบ้าน เช่น ไหมและผลิตภัณฑ์จากไหม เป็นต้น อุตสาหกรรมหม่อนไหม ...
    • Thumbnail

      การจัดทำฉลากคาร์บอนสำหรับอุตสาหกรรมยางพาราและอุตสาหกรรมอื่นๆ ประจำปีงบประมาณ 2557 ณ จังหวัดสงขลา 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)
    • Thumbnail

      จัดทำแนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เพื่อ Green Supply Chain ของอุตสาหกรรมเป้าหมายเพื่อการส่งออก 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)
    • type-icon

      พัฒนาและให้บริการช่วยเหลือ SMEs ที่มีศักยภาพแต่ประสบปัญหาทางธุรกิจ ประจำปีงบประมาณ 2559 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center) ดำเนินงานโดยกระทรวงอุตสาหกรรม และความร่วมมือของหน่วยงานเครือข่าย 14 แห่ง เพื่อให้บริการข้อมูลและปรึกษาแนะนำ และเชื่อมโยงส่งต่อผู้รับบริการให้หน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมและพัฒนา SMEs ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อให้การช่วยเหลือ SMEs ที่ประสบปัญหาทางธุรกิจจากปัจจัยต่างๆ รวมทั้งทางการเงิน ให้สามารถพลิกฟื้นธุรกิจให้กลับมาดำเนินธุรกิจต่อไป 2) เพื่อให้มีหน่วยเชื่อมโยงการบริการ SMEs กับหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมและพัฒนา SMEs ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค ...
    • type-icon

      กิจกรรมส่งเสริม SMEs ใช้ระบบ ERP by DIP ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพ SMEs ด้วยระบบ Digital 

      สุวรรณ จันทิวาสารกิจ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      กิจกรรม “ส่งเสริม SMEs ใช้ระบบ ERP by DIP” ซึ่งได้จัดต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 บรรลุวัตถุประสงค์การดำเนินการ เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อ SMEs ร่วมโครงการ 40 กิจการ จากนำระบบ ERP by DIP ไปใช้งานสามารถช่วยลดต้นการประกอบการเป็นมูลค่าต่อปีถึง 13,241,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 19.70 เพิ่มยอดขายหรือเพิ่มกำไรเป็นมูลค่าต่อปีถึง 28,480,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 16.65 ลดขั้นตอนการทำงานในกระบวนการทางธุรกิจที่สำคัญลงร้อยละ 32.81 ลดเวลาที่ใช้ในการทำงานในกระบวนการทางธุรกิจที่สำคัญลงร้อยละ 31.61 และทำให้เกิดการจ้างงานเพิ่มถึง 3,194,000 บาท สรุปผลความคุ้มค่าของโครงการเป็นอัตราส่วน ...
    • type-icon

      กิจกรรมส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพ SMEs ด้วยระบบรายงานผู้บริหาร (BI) ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพ SMEs ด้วยระบบ Digital ปีงบประมาณ 2560 

      จิรพล สังข์โพธิ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ตามนโยบายของรัฐบาลได้กำหนดแนวทางการส่งเสริมอุตสาหกรรมโดยเฉพาะในการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล โดยมุ่งการวางรากฐานของเศรษฐกิจดิจิทัลให้เริ่มขับเคลื่อนได้อย่าง จริงจังซึ่งจะทำให้ทุกภาคเศรษฐกิจก้าวหน้าไปได้ทันโลกและสามารถแข่งขันในโลกสมัยใหม่ได้ ซึ่งหมายรวมถึง การผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์ดิจิทัลโดยตรงทั้งฮาร์ดแวร์ซอฟต์แวร์อุปกรณ์สื่อสารดิจิทัลอุปกรณ์โทรคมนาคม ดิจิทัลและการใช้ดิจิทัลรองรับการให้บริการของภาคธุรกิจการเงินและธุรกิจบริการอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างการ ใช้ดิจิทัลรองรับการบริหารจัดการการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและการพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรร ...