Now showing items 39-58 of 82

    • type-icon

      พัฒนาฐานข้อมูลด้านการกีฬาเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมกีฬาของประเทศ 

      ชนินท์ทิรา ณ ถลาง (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      การดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาการกีฬาของไทยจำเป็นต้องมีข้อมูลในการประกอบการตัดสินใจ เพื่อการดำเนินการตามแผน และข้อมูลสำหรับการประเมินแผนที่ได้วางไว้ สำหรับกองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา มีภารกิจเกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ที่ 4: การพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬาเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560-2564) โดยมุ่งพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬาแบบครบวงจร สามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม และส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีการสนับสนุนการทำธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการกีฬา โดยงานวิจัยชิ้นนี้ได้พัฒนาฐาน ...
    • type-icon

      พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสิ่งทอที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ 2557 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      Industrial has been a major factor responsible for a considerable environmental disturbance owning to increasing use of resources and chemicals which leads to environment degradation, climate change, increasing global temperatures or Global Warming. Many nations, therefore, have become more aware and enthusiastic to reduce the causes of such issues and this has been triggered as a direct influential condition in international trades. Because of this, Thai entrepreneurs are driven to strengthen their competitiveness in this industry. Thailand ...
    • type-icon

      พัฒนาระบบงานข้อมูลที่รองรับการจัดทำ Big Data ของกระทรวงอุตสาหกรรม สำนักบริหารยุทธศาสตร์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม 

      จิรพล สังข์โพธิ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      เพื่อให้สอดคล้องกับร่างแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ในฐานะหน่วยงานดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs ให้ก้าวไปสู่การเป็น SMEs 4.0 ตามแนวนโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาระบบการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ ซึ่งในปัจจุบันกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมมีการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ผ่านระบบสารสนเทศเป็นจำนวนมาก โดยข้อมูลที่มีการจัดเก็บมีตั้งแต่ข้อมูลผู้ประกอบการที่รับบริการจากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ฐานข้อมูลการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ ฐานข้อมูลผลงานที่ปรึกษา รวมถึงข้อมูลเพื่อสนั ...
    • type-icon

      พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการธุรกิจบริการก่อสร้างและวิศวกรรม ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการธุรกิจบริการ ภายใต้ข้อตกลง AFAS ปีงบประมาณ 

      วิทวัส รุ่งเรืองผล; Rungruangphon, Witawat (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      เนื่องจากธุรกิจก่อสร้าง เป็นธุรกิจหนึ่งในปัจจัยสี่ ที่มีความสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรือง และยิ่งจะทวีคูณความสำคัญมากขึ้นหลังจากการบังคับใช้ข้อตกลงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นไป เพื่อให้ผู้ประกอบการในธุรกิจก่อสร้างและวิศวกรรมของไทย พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จึงจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการธุรกิจบริการก่อสร้างและวิศวกรรมขึ้น โดยมุ่งเน้นที่การพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการบริหารจัดการธุรกิจบริการก่อสร้างและวิศวกรรม ...
    • Thumbnail

      พัฒนาสถานประกอบการเป้าหมายเพื่อเข้าสู่ AEC 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล; อภิวัฒน์ มุตตามระ; Chuenwatanakul, Parichat; Muttamara, Apiwat (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)
    • Thumbnail
    • Thumbnail
    • type-icon

      พัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก (Thailand Food Quality to the World) กิจกรรม: การลดต้นทุนการผลิตที่ยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วย Green Productivity 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก (Thailand Food Quality to the World) ของสถาบันอาหาร มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับคุณภาพการผลิตอาหารในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจบริการอาหารของไทยให้มีคุณภาพ ปลอดภัยและมีคุณค่าโภชนาการที่เหมาะสมซึ่งที่ปรึกษาของสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแนะนำได้นำหลักการ Green Productivity (GP) ไปประยุกต์ใช้ ในการเพิ่มศักยภาพและลดต้นทุนการผลิตให้แก่โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร จำนวน 4 แห่ง
    • type-icon

      พัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก (Thailand Food Quality to the world) ปีงบประมาณ 2558 กิจกรรม: การลดต้นทุนการผลิตที่ยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วย Green Productivity 

      ไพรัช อุศุภรัตน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม ได้พยายามผลักดันให้โรงงานแปรรูปอาหารของไทยทุกระดับเข้าสู่ระบบคุณภาพสุขอนามัยในการผลิตระดับสากลมาอย่างต่อเนื่องมากกว่า 10 ปี แต่การดำเนินการไม่สามารถคลอบคลุมผู้ประกอบการในระบบผลิตอาหารได้อย่างทั่วถึงในระยะเวลาอันสมควร โดยเฉพาะผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก เนื่องจากยังขาดแรงจูงใจด้านการตลาด ขาดความพร้อมด้านงบประมาณในการปรับปรุงอาคารสถานที่การจัดจ้างที่ปรึกษา ขาดบุคลากรรองรับปัญหาเหล่านี้ต้องได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐในรูปแบบต่างๆ รัฐบาลจึงให้การสนับสนุนในการดำเนินการโครงการ “พัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาห ...
    • type-icon

      พัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก กิจกรรมด้านเพิ่มศักยภาพการผลิตและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Productivity & Environment) กิจกรรมย่อย : ยกระดับการแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารไทยด้วยการลดต้นทุนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Carbon Label) ปีงบประมาณ 2559 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      อุตสาหกรรมอาหารนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิของประเทศ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมส่งออกที่สำคัญ ซึ่งในปัจจุบันการค้าโลกนับวันจะมีการเปิดเสรีมากขึ้น ส่งผลให้การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารของไทยไปยังตลาดโลกประสบกับอุปสรรคต่างๆ โดยเฉพาะการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน ซึ่งมีหลายประเทศที่สามารถผลิตอาหารเพื่อการส่งออกได้ นอกจากนี้การที่ผู้บริโภค ในประเทศคู่ค้าสำคัญได้ให้ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงทำให้หันมาบริโภคสินค้าที่มาจากกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด จากอุปสรรคทางการค้าโลกดังกล่าว ...
    • type-icon

      พัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก กิจกรรมด้านเพิ่มศักยภาพผลิตและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Productivity & Environment) กิจกรรมย่อย: ยกระดับการแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารไทยด้วยการลดต้นทุนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Carbon Label) ปีงบประมาณ 2559 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      อุตสาหกรรมอาหารนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิของประเทศ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมส่งออกที่สำคัญ ซึ่งในปัจจุบันการค้าโลกนับวันจะมีการเปิดเสรีมากขึ้น ส่งผลให้การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารของไทยไปยังตลาดโลกประสบกับอุปสรรคต่างๆ โดยเฉพาะการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน ซึ่งมีหลายประเทศที่สามารถผลิตอาหารเพื่อการส่งออกได้ นอกจากนี้การที่ผู้บริโภค ในประเทศคู่ค้าสำคัญได้ให้ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงทำให้หันมาบริโภคสินค้าที่มาจากกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด จากอุปสรรคทางการค้าโลกดังกล่าว ...
    • type-icon

      พัฒนาและให้บริการของหน่วยบริการธุรกิจ/SMEs และวิสาหกิจชุมชน (BSC) 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      สำนักงานศูนย์วิจัย ได้ดำเนินการบริหารจัดการหน่วยบริการธุรกิจ/SMEs และวิสาหกิจชุมชน (Business Service Center : BSC) เพื่อให้เชื่อมโยงหน่วยงาน BDS (Business Development Service) ให้สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยจัดให้มีที่ปรึกษาให้บริการ SMEs อย่างต่อเนื่องที่ศูนย์บริการ BSC นำร่องคือ ที่ (กรุงเทพ-พระรามหก และ กล้วยน้ำไท) ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 จ.เชียงใหม่ ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 5 จ.ขอนแก่น และศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 11 จ.สงขลา จัดทำและปรับปรุงข้อมูลเพื่อให้การบริการ SMEs และวิสาหกิจชุมชนอย่างน้อย 6 เรื่องหลัก ...
    • type-icon

      พัฒนาและให้บริการช่วยเหลือ SMEs ที่มีศักยภาพแต่ประสบปัญหาทางธุรกิจ 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center) ดำเนินงานโดยกระทรวงอุตสาหกรรม และความร่วมมือของหน่วยงานเครือข่าย 14 แห่ง เพื่อให้บริการข้อมูลและปรึกษาแนะนำ และเชื่อมโยงส่งต่อผู้รับบริการให้หน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมและพัฒนา SMEs ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อให้การช่วยเหลือ SMEs ที่ประสบปัญหาทางธุรกิจจากปัจจัยต่างๆ รวมทั้งทางการเงิน ให้สามารถพลิกฟื้นธุรกิจให้กลับมาดำเนินธุรกิจต่อไป 2) เพื่อให้มีหน่วยเชื่อมโยงการบริการ SMEs กับหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมและพัฒนา SMEs ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค ...
    • type-icon

      พัฒนาและให้บริการช่วยเหลือ SMEs ที่มีศักยภาพแต่ประสบปัญหาทางธุรกิจ ประจำปีงบประมาณ 2559 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center) ดำเนินงานโดยกระทรวงอุตสาหกรรม และความร่วมมือของหน่วยงานเครือข่าย 14 แห่ง เพื่อให้บริการข้อมูลและปรึกษาแนะนำ และเชื่อมโยงส่งต่อผู้รับบริการให้หน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมและพัฒนา SMEs ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อให้การช่วยเหลือ SMEs ที่ประสบปัญหาทางธุรกิจจากปัจจัยต่างๆ รวมทั้งทางการเงิน ให้สามารถพลิกฟื้นธุรกิจให้กลับมาดำเนินธุรกิจต่อไป 2) เพื่อให้มีหน่วยเชื่อมโยงการบริการ SMEs กับหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมและพัฒนา SMEs ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค ...
    • type-icon

      พัฒนาไฮโดรเจลแบบผงเพื่อการประยุกต์ใช้งานทางด้านผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง 

      ศรุต อำมาตย์โยธิน (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      วัสดุเชิงประกอบไฮโดรเจลแบบผงนั้นสามารถ เตรียมได้จากพอลิไวนิลแอลกอฮอล์และแบคทีเรียเซลลูโลสด้วยกระบวนการ freeze dry ซึ่งมีอัตราส่วนระหว่างพอลิไวนิลแอลกอฮอล์และแบคทีเรียเซลลูโลสในอัตราส่วน 3:1 5:1 และ 10:1 ตามลำดับ โดยภายในโครงสร้างนั้นได้เกิดพันธะไฮโดรเจลเชื่อมขวางกันระหว่างวัสดุทั้ง 2 ประเภท ซึ่งวัสดุทั้ง 2 ประเภทนั้นมีความเข้ากันได้เป็นอย่างดีและสามารถทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิได้สูงถึง 200C และจากการถ่ายภาพด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดนั้นพบว่า ภายในโครงสร้างนั้นจะประกอบไปด้วยรูพรุนในขนาดต่าง ๆ กันมากมาย ในเบื้องต้นนั้นพบว่าว ...
    • type-icon

      ยกระดับการแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารไทยด้วยการลดต้นทุนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Good Practices on Productivity and Continuous Improving to Carbon Label) ปีงบประมาณ 2558 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      อุตสาหกรรมอาหารนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมส่งออกที่สำคัญ ซึ่งในปัจจุบันการค้าโลกนับวันจะมีการเปิดเสรีมากขึ้น ส่งผลให้การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารของไทยไปยังตลาดโลกประสบกับอุปสรรคต่างๆ โดยเฉพาะการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน ซึ่งมีหลายประเทศที่สามารถผลิตอาหารเพื่อการส่งออกได้ นอกจากนี้การที่ผู้บริโภคในประเทศคู่ค้าสำคัญได้ให้ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงทำให้หันมาบริโภคสินค้าที่มาจากกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด จากอุปสรรคทางการค้าโลกดังกล่าว ...
    • type-icon

      ยกระดับการแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารไทยด้วยการลดต้นทุนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Good Practices on Productivity and Continuous Improving to Carbon Label) ปีงบประมาณ 2558 

      หาญพล พึ่งรัศมี; ไพรัช อุศุภรัตน์; Phungrassami, Harnpon; Usubharatana, Phairat (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      อุตสาหกรรมอาหารนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมส่งออกที่สำคัญ ซึ่งในปัจจุบันการค้าโลกนับวันจะมีการเปิดเสรีมากขึ้น ส่งผลให้การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารของไทยไปยังตลาดโลกประสบกับอุปสรรคต่างๆ โดยเฉพาะการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน ซึ่งมีหลายประเทศที่สามารถผลิตอาหารเพื่อการส่งออกได้ นอกจากนี้การที่ผู้บริโภคในประเทศคู่ค้าสำคัญได้ให้ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงทำให้หันมาบริโภคสินค้าที่มาจากกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด จากอุปสรรคทางการค้าโลกดังกล่าว ...
    • type-icon

      ยกระดับการแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารไทยด้วยการลดต้นทุนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ปี 2558 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      อุตสาหกรรมอาหารนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมส่งออกที่สำคัญ ซึ่งในปัจจุบันการค้าโลกนับวันจะมีการเปิดเสรีมากขึ้น ส่งผลให้การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารของไทยไปยังตลาดโลกประสบกับอุปสรรคต่างๆ โดยเฉพาะการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน ซึ่งมีหลายประเทศที่สามารถผลิตอาหารเพื่อการส่งออกได้ นอกจากนี้การที่ผู้บริโภคในประเทศคู่ค้าสำคัญได้ให้ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงทำให้หันมาบริโภคสินค้าที่มาจากกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด จากอุปสรรคทางการค้าโลกดังกล่าว ...
    • type-icon

      ยกระดับการแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารไทยด้วยการลดต้นทุนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2557 

      ไพรัช อุศุภรัตน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      อุตสาหกรรมอาหารนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมส่งออกที่สำคัญ ซึ่งในปัจจุบันการค้าโลกนับวันจะมีการเปิดเสรีมากขึ้น ส่งผลให้การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารของไทยไปยังตลาดโลกประสบกับอุปสรรคต่างๆ โดยเฉพาะการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน ซึ่งมีหลายประเทศที่สามารถผลิตอาหารเพื่อการส่งออกได้ นอกจากนี้การที่ผู้บริโภคในประเทศคู่ค้าสำคัญได้ให้ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงทำให้หันมาบริโภคสินค้าที่มาจากกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด จากอุปสรรคทางการค้าโลกดังกล่าว ...
    • type-icon

      ยกระดับการแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารไทยด้วยการลดต้นทุนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมประจำปีงบประมาณ 2557 

      ไพรัช อุศุภรัตน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      อุตสาหกรรมอาหารนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมส่งออกที่สำคัญ ซึ่งในปัจจุบันการค้าโลกนับวันจะมีการเปิดเสรีมากขึ้น ส่งผลให้การส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารของไทยไปยังตลาดโลกประสบกับอุปสรรคต่างๆ โดยเฉพาะการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน ซึ่งมีหลายประเทศที่สามารถผลิตอาหารเพื่อการส่งออกได้ นอกจากนี้การที่ผู้บริโภคในประเทศคู่ค้าสำคัญได้ให้ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงทำให้หันมาบริโภคสินค้าที่มาจากกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด จากอุปสรรคทางการค้าโลกดังกล่าว ...