Now showing items 63-82 of 82

    • type-icon

      ศึกษาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี CAE ในประเทศไทย ในอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลทาง เกษตร และอุตสาหกรรมอาหาร 

      วิโรจน์ ลิ่มตระการ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      CAE Technology is an important role in engineering work of several industries. Electrical and electronics industries use CAE technology to help product design related to customer requirements. Petroleum and petrochemical industries conduct CAE technology in the development of process and maintenance. Medical industries apply CAE technology in design and manufacturing quality of medical measurement and instrument. Tend of CAE technology application will be on Virtual Engineering platform that will simulate all engineering work on computer. This ...
    • type-icon

      ศึกษาศักยภาพชิ้นส่วนประกอบรถยนต์ที่เป็น Product Champion ของไทย 

      อัญชลี พิพัฒนเสริญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      รายงานการศึกษาฉบับนี้มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อศึกษาสถานภาพและแนวโน้มของอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนประกอบรถยนต์ (Accessories) และศึกษากลุ่มชิ้นส่วนประกอบรถยนต์ รถยนต์ (Accessories) สำหรับผลิตภัณฑ์ที่เป็น Product Champion ของไทย คือ รถปิกอัพ 1 คัน รถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล และรถจักรยานยนต์ ตลอดจนวางยุทธศาสตร์การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชิ้นส่วนประกอบรถยนต์ (Accessories) สำหรับผลิตภัณฑ์ที่เป็น Product Champion ของไทยให้สามารถเพิ่มโอกาสในการส่งออกไปยังตลาดอาเซียนและ/หรือตลาดส่งออกอื่นๆ ที่มีศักยภาพ จากการศึกษาตลาดของรถยนต์ที่เป็น Product Champion ...
    • type-icon

      ศึกษาศักยภาพอุตสาหกรรมการออกแบบของประเทศไทย 

      พีรดร แก้วลาย; ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      เศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นส่วนหนึ่งในยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบจึงได้จัดทำโครงการศึกษาศักยภาพอุตสาหกรรมการออกแบบของประเทศไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลแสดงถึงศักยภาพของอุตสาหกรรมการออกแบบ และกำหนดแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมการออกแบบได้อย่างครอบคลุม ประกอบด้วย 8 อุตสาหกรรมการออกแบบคือ (1) สาขาสถาปัตยกรรม (2) สาขาสถาปัตยกรรมภายใน (3) สาขาภูมิสถาปัตยกรรม (4) สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ (5) สาขาเรขศิลป์ (6) สาขาแอนิเมชั่นและคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (7) สาขาออกแบบนิทรรศการ และ (8) การออกแบบบริการ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดเก็บ ...
    • type-icon

      ศูนย์สนับสนุนและช่วยเหลือเอสเอ็มอี (SME Support Rescue Center) 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center) ดำเนินงานโดยกระทรวงอุตสาหกรรม และความร่วมมือของหน่วยงานเครือข่าย 14 แห่ง เพื่อให้บริการข้อมูลและปรึกษาแนะนำ และเชื่อมโยงส่งต่อผู้รับบริการให้หน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมและพัฒนา SMEs ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อให้การช่วยเหลือ SMEs ที่ประสบปัญหาทางธุรกิจจากปัจจัยต่างๆ รวมทั้งทางการเงิน ให้สามารถพลิกฟื้นธุรกิจให้กลับมาดำเนินธุรกิจต่อไป 2) เพื่อให้มีหน่วยเชื่อมโยงการบริการ SMEs กับหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมและพัฒนา SMEs ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค ...
    • type-icon

      สำรวจความต้องการเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ เพื่อการผลิตระดับชุมชนในประเทศไทย 

      ธีร์ เจียศิริพงษ์กุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      โครงการสำรวจความต้องการเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ เพื่อการผลิตระดับชุมชนในประเทศไทย ภายใต้โครงการการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสร้างเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของภาคการผลิตและบริการ มีแนวคิดริเริ่มจากการที่สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สส. สป.วท.) ได้มีการดำเนินโครงการพัฒนาเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ เพื่อการผลิตระดับชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีและสร้างเครื่องจักร เครื่องมือต้นแบบที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้งาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในภา ...
    • type-icon

      สำรวจความพึงพอใจ ความต้องการ ความคาดหวัง ความภักดีของผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ต่อการดำเนินงานของนิคมอุตสาหกรรม ประจำปี 2557 

      พรชัย ตระกูลวรานนท์; ธีระ สินเดชารักษ์; จุฑาศินี ธัญปราณีตกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ ให้เติบโตควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม โดยมีภารกิจที่สำคัญตามกฎหมายและได้รับมอบหมายตามแนวทางนโยบายการพัฒนาของประเทศ เพื่อให้การดำเนินงานสัมฤทธิ์ผลตามยุทธศาสตร์ กนอ. ในการสร้างสมดุลของการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม เพื่อการอยู่ร่วมกันของภาคนิคมอุตสาหกรรม สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม จึงได้เกิดโครงการสำรวจความพึงพอใจ ความต้องการ ความคาดหวังของผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรืออุตสาหกรรมต่อการให้บริการของ กนอ. โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสำรวจและศึกษาระดับความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ ...
    • type-icon

      สำรวจความพึงพอใจของชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรืออุตสาหกรรม ประจำปี 2558 

      พรชัย ตระกูลวรานนท์; จุฑาศินี ธัญปราณีตกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      โครงการสำรวจความพึงพอใจของชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรืออุตสาหกรรม ประจำปี 2558 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสำรวจและศึกษาความพึงพอใจของชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรืออุตสาหกรรม ในการสร้างคุณภาพชีวิตสังคมต่อชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรม และท่าเรืออุตสาหกรรม ในระดับ Corporate CSR และ Community CSR รวมทั้งนำข้อเสนอแนะของชุมชนมาวิเคราะห์/ประเมินและนำเสนอแนวทางพร้อมแผนงานในการปรับปรุงการดำเนินงานของ กนอ. 2) เพื่อสำรวจและศึกษาความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรม และท่าเรืออุตสาหกรรม ต่อผลกระทบจากการดำเนินงานของ กนอ. ในการบริหารจัดการนิค ...
    • type-icon

      สำรวจความพึงพอใจและความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (Engagement Survey) ประจำปี 2561 

      ธีระ สินเดชารักษ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      โครงการสำรวจความพึงพอใจและความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (Engagement Survey) ประจำปี 2561 เป็นการสำรวจอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา เพื่อนำความคิดเห็นของบุคลากรไปพัฒนาและปรับปรุงการบริหารจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การสำรวจระดับความพึงพอใจในการทำงานและความผูกพันต่อองค์กรใช้การสำรวจออนไลน์ผ่าน Google form ได้รับแบบสำรวจที่ใช้ในการประมวลผลได้ 515 ชุด คิดเป็นร้อยละ 87.73 จากจำนวนบุคลากรทั้งสิ้น 587 ราย ผลการสำรวจ พบว่า พนักงานมีความพึงพอใจในการทำงานอยู่ในระดับมากมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.34 ...
    • Thumbnail

      สุดยอดเอสเอ็มอีจังหวัด (SME Provincial Champions) กลุ่ม SMEs ที่เพิ่งเริ่มดำเนินธุรกิจ (Start up) 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)
    • Thumbnail

      สุดยอดเอสเอ็มอีจังหวัด (SMEs Provincial Champions) กลุ่ม SMEs ที่เริ่มต้นธุรกิจ (Start Up), กลุ่ม SMEs มีศักยภาพในการตลาด (Rising Star) และกลุ่ม SMEs ที่อยู่ในช่วงฟื้นตัว (Turn Around) 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล; Chuenwatanakul, Parichat (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)
    • type-icon

      ส่งเสริม SMEs เข้าสู่ Industry 4.0 ด้วยไอที ภายใต้โครงการพิเศษตามแนวทางที่ 3 

      สุวรรณ จันทิวาสารกิจ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      โครงการส่งเสริม SMEs เข้าสู่ Industry 4.0 ด้วยไอที ภายใต้โครงการพิเศษตามแนวทางที่ 3 มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ SMEs ในพื้นที่ความรับผิดชอบของ ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 10 จังหวัดสุราษฎร์ธานี กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ตามนโยบายของกระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) มุ่งหวังให้ SMEs ให้ปรับตัวมีระบบการบริหารจัดการทันสมัยแบบ Industry 4.0 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ดำเนินงานโครงการตามจุดประสงค์จนสำเร็จลุล่วง ผลการดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย ซึ่งได้แก่ ประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นการประกอบการของ SMEs จำนวน ...
    • type-icon

      ส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคประชาชน ปีงบประมาณ 2557 สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม 

      อภิวัฒน์ มุตตามระ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      Project for the participation of civil society” was prepared under the Public Sector Development Strategy Thailand. (2556 BE - BE 2561), value the importance and adhering to the principles and guidelines of the public as a "center ". Changing role of government to support, facilitate and collaborate with the administration of political parties. In order to provide maximum benefits to the country including the availability and attitude to work as a network in cooperation with other sectors of society committed to excellence proactive. The work of ...
    • type-icon

      ส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคประชาชนสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 

      อภิวัฒน์ มุตตามระ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      " Promoting the participation of civil society” is a Project conducted under the Strategic Plan developed bureaucracy Thailand ( 2555 - 2558) , who have given the importance and adherence to the philosophy, principles and practices of the public as a " hub " to work fine. changing role of government to support and facilitate . Collaborate with the political administration to achieve maximum benefit to the country, including the availability and attitudes to work as a network partnership with other sectors in society geared towards excellence ...
    • type-icon

      ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ไหมสู่สากล กิจกรรมส่งเสริมการรวมกลุ่มอุตสาหกรรม (Cluster) แปรรูปไหมอย่างยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 

      Chuenwatanakul, Parichat; ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      การดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมการรวมกลุ่มอุตสาหกรรม (Cluster) แปรรูปไหมอย่างยั่งยืน ตามโครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ไหมสู่สากล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 จะมุ่งเน้นเพื่อให้คำปรึกษาแนะนำเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ ให้ความช่วยเหลือสมาชิกกลุ่มคลัสเตอร์ในด้านวัตถุดิบ การตลาด ผลิตภัณฑ์ไหมสร้างสรรค์ และเฉพาะด้านตามความต้องการของผู้ประกอบการไหม อาทิ การจัดการ ประหยัดพลังงาน การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ฯลฯ ณ สถานที่ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการไหมในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ โดยคำนึงถึงศักยภาพของกลุ่มผู้ประกอบการไหมที่เข้าร่วมโครงการ และสอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการ ...
    • type-icon

      เตรียมโฟมพอลิเมอร์เชิงประกอบจากพอลิแลคติกแอซิดผสมพอลิบิวทิลีนซัคซิเนตกับเส้นใยไมซีเลียมสังเคราะห์เพื่อประยุกต์ใช้เป็นถ้วยและฝาปิดสำหรับเครื่องดื่มร้อน 

      ชิราวุฒิ เพชรเย็น (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเตรียมและการวิเคราะห์วัสดุเชิงประกอบมัลติวอลล์คาร์บอนนาโนทิวบ์/ไททาเนียมไดออกไซด์ โดยการสังเคราะห์วัสดุเชิงประกอบด้วยวิธีการโซลเจล (sol-gel) เพื่อนำไปปรับปรุงขั้วไฟฟ้าใช้งานที่ขึ้นรูปด้วยวิธีพิมพ์สกรีน ซึ่งการสังเคราะห์ใช้อัตราส่วนของมัลติวอลล์คาร์บอนนาโนทิวบ์/ไททาเนียมไดออกไซด์ที่แตกต่างกัน ได้แก่ 1:1 1:2 และ 2:1 จากนั้นเผาที่อุณหภูมิ 450 500 550 600 650 องศาเซลเซียส และศึกษาการนำไฟฟ้าด้วยวิธีไซคลิกโวแทมเมตรี โดยจะเปรียบเทียบขั้วไฟฟ้าที่ปรับปรุงด้วยวัสดุเชิงประกอบกับขั้วไฟฟ้าเปล่า และขั้วไฟฟ้าที่ปรับปรุงด้ ...
    • type-icon

      เศรษฐกิจสร้างสรรค์นวัตกรรม OTOP ศรีวิชัย 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      จากการที่รัฐบาลมีนโยบายในการนำอุตสาหกรรมวัฒนธรรมมาใช้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงได้จ้างสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นที่ปรึกษาในการนำวัฒนธรรมศรีวิชัย มาสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงอุตสาหกรรมวัฒนธรรมอย่างเป็นรูปธรรม จากการดำเนินโครงการเศรษฐกิจสร้างสรรค์นวัตกรรม OTOP ศรีวิชัยของสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีผู้ประกอบการกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ จำนวน 13 ราย โดยได้รับการให้คำปรึกษาแนะนำและร่วมกับทีมที่ปรึกษาในการดำเนินงานตามแผนพัฒนาแล้วเ ...
    • type-icon

      โครงการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืนด้วย Water Footprint ในอุตสาหกรรมอาหารเพื่อการส่งออก ปี 2557 

      ไพรัช อุศุภรัตน์; Usubharatana, Phairat (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมเป็นหัวข้อสำคัญที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับคุณภาพสินค้าและระบบการบริหารจัดการ โดยเฉพาะโลกที่อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์การค้าของ WTO สำหรับการใช้น้ำในภาคอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งมีแนวโน้มการใช้น้ำในปริมาณมาก เมื่อเทียบกับการผลิตจากอุตสาหกรรมประเภทอื่นๆ โดยการใช้น้ำอาจมาจากกิจกรรมต่างๆ อาจเป็นภาระต่อสิ่งแวดล้อมในรูปของน้ำเสียที่อุตสาหกรรมต้องทำการบำบัดให้ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดขึ้นก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ ในปัจจุบันการศึกษาเกี่ยวกับร่องรอยการใช้น้ำ หรือ วอเตอร์ฟุตพริ้นท์จากการผลิตผลิตภัณฑ์ (water footprint of product) จึงเป็นโอกาสให้เก ...
    • Thumbnail

      โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อสร้างมูลค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ (Economic Value Management -EVM) ระยะที่ 3 : รายงานฉบับสมบูรณ์ 

      สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2009)

      Ministry of Finance formulated a policy designating all state enterprises to apply Economic Value Management (EVM) as a mechanism to develop the efficiency of using resources and increasing the competitiveness of the organizations. Industrial Estate Authority of Thailand (IEAT) has been administered basing on concept of EVM since B.E. 2549. It was found out IEAT highly succeeded in using EVM to analyze investment projects in terms of value driven approach, business plan and budget. The result reflects that value driven diagram was able to ...
    • Thumbnail

      โครงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร ประจำปีงบประมาณ 2552 สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย กระทรวงอุตสาหกรรม : รายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ 

      ไตรรัตน์ โภคพลากรณ์; เฉลิมพงศ์ มีสมนัย; ขนิษฐา อ่อนหวาน (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2009)

      สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทรายดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาข้าราชการสำหรับระยะเวลา 3 ปี (พ.ศ. 2550-2552) โดยใช้วิธี Competency-based approach ตามแนวทางของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย และมีการดำเนินงานตามแผนดังกล่าวแล้วในระหว่างปีงบประมาณ 2550 และ 2551 เพื่อเป็นการประเมินระดับสมรรถนะของบุคลากร ช่องว่างของสมรรถนะตลอดจนสมรรถนะที่คาดหวังจึงมีการทบทวนสมรรถนะที่ใช้ปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2552 และนำผลการศึกษาไปใช้ปรับแผนพัฒนาบุคลากรฯให้สอดคล้องกับบริบทในปัจจุบันและในอนาคต
    • type-icon

      โครงการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ให้กับอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป กลุ่มจังหวัด ภาคกลางตอนกลาง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 : รายงานฉบับสมบูรณ์ 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล; ธเนศ สำเริงเวทย์; กิตติพงษ์ ห่วงรักษ์; นลินี ทองแท้ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2012)

      Central region is the golden cradle of Thai agriculture where abundant agricultural products are made. Numerous kinds of agricultural processing goods are produced in many villages yet there are few channels to widely distribute. This participation research was conducted to broaden SME entrepreneurs’ horizon of value-added marketing for their products. Participants were chosen from 5 provinces, namely, Nakornnayok, Chachoengsao, Sakaeo, Samutprakarn and Prachinburi to attend the preliminary workshop focusing on product design, packaging, trademark ...