Now showing items 1-20 of 82

    • Thumbnail

      การจัดทำฉลากคาร์บอนสำหรับอุตสาหกรรมยางพาราและอุตสาหกรรมอื่นๆ ประจำปีงบประมาณ 2557 ณ จังหวัดสงขลา 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)
    • type-icon

      การจัดทำฐานข้อมูลแบบ Gate to Gate และ Cradle to Gate ของอุตสาหกรรมหม่อนไหม (ไหมหัตถกรรม) 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      ในปัจจุบันการเติบโตและขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ รวมถึงการพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม และการบริโภคสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐานและอานวยความสะดวกแก่มนุษย์ ประเทศไทยก็เช่นเดียวกันที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจนั้นอย่างหนึ่งคือ สินค้าส่งออก ซึ่งสินค้าส่งออกที่ประเทศไทยมีการผลิตตั้งแต่ต้นสายจนถึงปลายสาย ชนิดหนึ่ง คือ สินค้าจากภูมิปัญญาพื้นบ้าน เช่น ไหมและผลิตภัณฑ์จากไหม เป็นต้น อุตสาหกรรมหม่อนไหม ...
    • type-icon

      การจัดทำดัชนีอุตสาหกรรมระดับจังหวัด 

      เพ็ญแข ศิริวรรณ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      Major purposes of Project for Setting Provincial Industrial Index are to develop management system of provincial industrial information resources, to definitely improve industrial resources database to be completely efficient, up-to-date and single standard, and to set up provincial industrial index for measuring economic and industrial conditions of provinces as well as for linking to national industrial information resources. The joint project initially implemented in the fiscal year of 2012 and having been proceeded continuously in 2013 by ...
    • type-icon

      การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสะอาดเพื่อเพิ่มผลผลิตสีเขียว (Green Productivity) ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ ประจำปีงบประมาณ 2560 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      จากการเติบโตของเศรษฐกิจในภาคอุตสาหกรรมส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบนิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อม มลภาวะที่เกิดขึ้นจากตัววัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต กระบวนการผลิต การขนส่ง รวมถึงการปล่อยของเสียและการกำจัดของเหลือใช้จากกระบวนการผลิตของภาคอุตสาหกรรม ดังจะเห็นได้จากสิ่งแวดล้อมที่ถูกทำลาย อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มสูงขึ้นทำให้เกิดภาวะโลกร้อนที่ผ่านมาทั้งภาครัฐและเอกชนได้มีความพยายามอย่างต่อเนื่องที่จะหาแนวคิด วิธีการ เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพเพื่อบริหารจัดการปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ในขณะเดียวกันภาคอุตสาหกรรมซึ่งถือเป็นกลไกหลักที่สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ ...
    • type-icon

      การพัฒนาและให้บริการของหน่วยบริการธุรกิจ/SMEs และวิสาหกิจชุมชน (BSC) 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      สถาบัน ได้ดำเนินการบริหารจัดการศูนย์บริการธุรกิจอุตสาหกรรม (Business Service Center : BSC) เพื่อให้เชื่อมโยงหน่วยงาน BDS (Business Development Service) ให้สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยจัดให้มีที่ปรึกษาให้บริการ SMEs อย่างต่อเนื่องที่ศูนย์บริการ BSC นำร่องคือ ที่ (กรุงเทพ-พระรามหก และกล้วยน้ำไท) ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 จ.เชียงใหม่ ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 5 จ.ขอนแก่น และศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 11 จ.สงขลา จัดทำและปรับปรุงข้อมูลเพื่อให้การบริการ SMEs และวิสาหกิจชุมชนอย่างน้อย 7 เรื่องหลัก จำนวนเรื่องย่อย 200 เรื่อง ...
    • type-icon

      การวิจัยการแข่งขันในอุตสาหกรรมธนาคารไทย 

      สรายุทธ์ นาทะพันธ์; Nathaphan, Sarayut (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      ธนาคารพาณิชย์มีการแข่งขันสูงมากขึ้นตามความต้องการของผู้ใช้บริการที่เพิ่มขึ้น ทั้งด้านการบริการ ความเข้าใจในผลิตภัณฑ์ ซึ่งสะท้อนออกมาในรูปแบบของการขยายสาขาธนาคารจำนวนมาก และการมีผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่หลากหลายทั้งผลิตภัณฑ์หลักและผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง เช่น เงินฝาก เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ กองทุนรวม ประกันชีวิต ประกันภัย และสินเชื่อในทุกขนาดวงเงิน อย่างไรก็ดี การที่ลูกค้ามีทางเลือกมากขึ้นย่อมส่งผลให้การบริหารงานสาขามีอุปสรรคมากขึ้นตามไปด้วย เนื่องจากทุกธนาคารดำเนินการในลักษณะเดียวกัน จึงมีส่วนทำให้ปริมาณและมูลค่าของธุรกรรมด้านสินเชื่อและเงินฝากในแต่ละสาขาปรับลดลง ...
    • type-icon

      การแปรรูปวัสดุชีวมวลจากเส้นใยธรรมชาติเพื่อการประยุกต์ใช้งานเป็นแผ่นซับสเตรทของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 

      ศรุต อำมาตย์โยธิน (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      วัสดุเชิงประกอบของแบคทีเรียเซลลูโลส เตรียมได้จากแบคทีเรียเซลลูโลส และพอลิอะนีลีนโดยที่สารละลายพอลิอะนิลีนจะเข้าไปแทรกตามรูพรุนในโครงสร้างของแบคทีเรียเซลลูโลสที่มีขนาดระดับนาโน พอลิอะนิลีนเป็นที่นิยมและมีการนำมาประยุกต์ใช้งานอย่างแพร่หลาย เนื่องจากพอลิอะนิลีนจะแสดงสมบัติเป็นสารกึ่งตัวนำ จึงนำไปสู่อุตสาหกรรมการพัฒนาวัสดุเชิงประกอบสาหรับเซลล์แสงอาทิตย์ โดยตรวจสอบลักษณะโครงสร้างด้วยเทคนิค Fourier Transform Infrared Spectroscopy (FT-IR) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเกิดพันธะไฮโดรเจน (H-bond) ระหว่างแบคทีเรียเซลลูโลสกับพอลิอะนิลีน ตรวจสอบตำแหน่งพีคและระนาบผลึกด้วยวิธี ...
    • type-icon

      การแปรรูปวัสดุชีวมวลจากเส้นใยธรรมชาติเพื่อการประยุกต์ใช้งานเป็นแผ่นดูดซับน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม 

      ศรุต อำมาตย์โยธิน (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      สำหรับงานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาวัสดุเชิงประกอบของแบคทีเรียเซลลูโลสและพอลิเอทิลีนไกลคอล ซึ่งออกแบบเป็นแผ่นเยื่อบางขึ้นโดยการสกัดแบคทีเรียเซลลูโลสจากวุ้นมะพร้าวผสมกับพอลิเอทิลีนไกลคอล พบว่า พอลิเอทิลีนไกลคอลจะแทรกตัวเข้าไปในโครงสร้างรูพรุนของโครงร่างตาข่ายแบคทีเรียเซลลูโลส โดยศึกษาโครงสร้างทางจุลภาคด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) อย่างไรก็ตามวัสดุเชิงประกอบเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างกันจากการศึกษาโครงสร้างและหมู่ฟังก์ชันด้วยเทคนิค FTIR โดยที่หมู่ไฮดรอกซิลของทั้งแบคทีเรียเซลลูโลสและพอลิเอทิลีนไกลคอลสร้างพันธะระหว่างกัน นอกจากนี้ยังมีค่ากา ...
    • type-icon

      กิจกรรมการพัฒนาโมเดลในการส่งเสริม SME สู่อุตสาหกรรม 4.0 ภายใต้โครงการศึกษาและพัฒนาโมเดลการส่งเสริมอุตสาหกรรม ประจำปีงบประมาณ 2562 

      วีรบูรณ์ วิสารทสกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-13)

      การดำเนินงานกิจกรรมการพัฒนาโมเดลในการส่งเสริม SME สู่อุตสาหกรรม 4.0 ภายใต้โครงการศึกษาและพัฒนาโมเดลการส่งเสริมอุตสาหกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำแผนผังการดำเนินโครงการและกิจกรรมของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และเพื่อจัดทำโมเดลในการส่งเสริม SME สู่อุตสาหกรรม 4.0 โดยคาดหวังผลผลิตและผลลัพธ์ เพื่อเกิดโมเดลใหม่ที่เหมาะสมในการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรม SME ของประเทศไทยไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 อย่างน้อย 2 โมเดล โดยการศึกษานี้ได้ดำเนินสอบถามและสัมภาษณ์ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น ผู้ประกอบการ SME ผู้ปฏิบัติงานส่งเสริม ...
    • type-icon

      กิจกรรมการส่งเสริม พัฒนา โรงงานต้นแบบแปรรูปสมุนไพร (Support Center Model) ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพ SMEs สมุนไพรเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมสมุนไพรไทย งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปีงบประมาณ 2560 ประเด็นเมืองสมุนไพร 

      กิตติพงศ์ ไชยนอก (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      อุตสาหกรรมสมุนไพรเป็นอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพและสามารถสร้างความยั่งยืนในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมเป้าหมาย ทั้งที่เป็นอุตสาหกรรมเดิม (First S-Curve) และถูกคาดการณ์ว่าจะเป็นกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต (New Engine of Growth) โดยการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสินค้าและเทคโนโลยี สามารถสร้างรายได้ให้ประเทศไทยได้ ประกอบกับความต้องการใช้สมุนไพรในประเทศไทยและทั่วโลกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งในรูปแบบของผลิตภัณฑ์และสารสกัดสมุนไพร จึงเป็นโอกาสสำคัญที่จะส่งเสริมให้เกษตรกรและผู้ประกอบการไทยให้ความสนใจสมุนไพรมากยิ่งขึ้น แต่การบริหารจัดการอุตสาหกรรมส ...
    • type-icon

      กิจกรรมการส่งเสริมการรวมกลุ่มสมุนไพร (Cluster) โครงการเพิ่มศักยภาพ SMEs สมุนไพรเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมสมุนไพรไทย กลุ่มเป้าหมาย วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) วิสาหกิจชุมชน จำนวน 4 เครือข่าย 

      กิตติพงศ์ ไชยนอก (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      จากนโยบายไทยแลนด์ 4.0 สู่แนวคิดอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) เพื่อสร้างความเข้มแข็งจากภายใน อุตสาหกรรมสมุนไพร ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่ประเทศไทยมีความได้เปรียบทั้งสภาพแวดล้อม ภูมิอากาศ ภูมิปัญญาที่สั่งสมเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในการรักษาโรคและดูแลสุขภาพของตนเอง ประกอบกับเป็นอุตสาหกรรมที่เป็นแนวโน้มความต้องการของโลกอนาคต ทางรัฐบาลจึงตั้งเป้าพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นเมืองสมุนไพร โดยมีนโยบายการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรอย่างเป็นระบบและยั่งยืนตลอดห่วงโซ่ ให้มีคุณภาพและสอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความมั่นคงในด้านสุขภาพและเศรษฐกิจอย่า ...
    • type-icon

      กิจกรรมศึกษาพฤติกรรรมผู้บริโภคอาหารไทยในประเทศเบลเยี่ยมและลักเซมเบิร์ก โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก (Thailand Food Quality to the World) ปี 2558 

      แก้วตา โรหิตรัตนะ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      จากการให้ความสำคัญของรัฐบาลในการสนับสนุนให้มีร้านอาหารไทยในต่างประเทศเพื่อเป็นศูนย์กลางการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ของประเทศไทย สถาบันอาหารและสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงมีความร่วมมือในการดำเนินงาน “กิจกรรม ศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคอาหารไทยในราชอาณาจักรเบลเยี่ยมและลักเซมเบิร์ก ภายใต้โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยให้เป็นครัวอาหารคุณภาพของโลก” ในการศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยในการเลือก รับประทานอาหารของผู้บริโภคในราชอาณาจักรเบลเยียมและราชรัฐลักเซมเบิร์ก เพื่อเป็นแนวทางในการวางกลยุทธ์ผลักดันการเติบโตของธุรกิจร้านอ ...
    • type-icon

      กิจกรรมสร้างความเข้มแข็งสมาคมการค้าตามแนวทาง Balanced Scorecard (BSC) ภายใต้โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สมาคมการค้า 

      อภิวัฒน์ มุตตามระ; Muttamara, Apiwat (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      การพัฒนาศักยภาพสมาคมการค้าเป็นอีกหนึ่งบทบาทที่เสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายสมาคมการค้าให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหารจัดการ โดยการนำแนวคิด Balanced Scorecard มาประยุกต์ใช้เป็นกรอบในการบริหาร ซึ่งประกอบด้วยมุมมอง (Perspectives) 4 ด้าน คือ มุมมองด้านการเงิน (Financial Perspective) มุมมองด้านลูกค้า (Customer Perspective) มุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal Process Perspective) และมุมมองด้านการเรียนรู้และการพัฒนา (Learning and Growth Perspective) การพัฒนาศักยภาพสมาคมการค้าและสร้างเครือข่ายสมาคมการค้า โดยมีการดำเนินการ ...
    • type-icon

      กิจกรรมส่งเสริม SMEs ใช้ Social Media เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการตลาดและการสร้างแบรนด์ ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพ SMEs ด้วยระบบ Digital ปีงบประมาณ 2560 

      มานิต สาธิตสมิตพงษ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      โครงการส่งเสริม SMEs ใช้ Social Media เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการตลาด และการสร้างแบรนด์ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้ SMEs ได้มีความรู้ความเข้าใจในการนำ Social Media มาเป็นเครื่องมือหนึ่งในการประยุกต์ใช้ในกิจการ เพื่อเพิ่มศักยภาพทางการตลาดให้เพิ่มมากขึ้น 2) เพื่อให้มี Success Case ในการประยุกต์ใช้ Social Media ในธุรกิจเพื่อเพิ่มศักยภาพทางการตลาด เผยแพร่ออกสู่สาธารณะเพื่อเป็นต้นแบบการประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยี โดยได้แบ่งหลักสูตรการถ่ายทอดองค์ความรู้และให้คำปรึกษาแนะนำเป็น 2 หลักสูตรดังนี้ หลักสูตรที่ 1. การถ่ายทอดองค์ความรู้และให้คำปรึ ...
    • type-icon

      กิจกรรมส่งเสริม SMEs ใช้ระบบ ERP by DIP ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพ SMEs ด้วยระบบ Digital 

      สุวรรณ จันทิวาสารกิจ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      กิจกรรม “ส่งเสริม SMEs ใช้ระบบ ERP by DIP” ซึ่งได้จัดต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 บรรลุวัตถุประสงค์การดำเนินการ เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อ SMEs ร่วมโครงการ 40 กิจการ จากนำระบบ ERP by DIP ไปใช้งานสามารถช่วยลดต้นการประกอบการเป็นมูลค่าต่อปีถึง 13,241,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 19.70 เพิ่มยอดขายหรือเพิ่มกำไรเป็นมูลค่าต่อปีถึง 28,480,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 16.65 ลดขั้นตอนการทำงานในกระบวนการทางธุรกิจที่สำคัญลงร้อยละ 32.81 ลดเวลาที่ใช้ในการทำงานในกระบวนการทางธุรกิจที่สำคัญลงร้อยละ 31.61 และทำให้เกิดการจ้างงานเพิ่มถึง 3,194,000 บาท สรุปผลความคุ้มค่าของโครงการเป็นอัตราส่วน ...
    • type-icon

      กิจกรรมส่งเสริม SMEs ใช้ระบบ ERP by DIP และพัฒนาศักยภาพด้วยระบบรายงานผู้บริหาร (BI) ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพ SMEs ด้วยระบบ Digital ปีงบประมาณ 2559 

      จิรพล สังข์โพธิ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      โครงการพัฒนาส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ SME ด้วย ERP by DIP และด้วยระบบรายงานผู้บริหารมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม SMEs ใช้ระบบ ERP by DIP ซึ่งเป็นระบบ ERP ที่มีฟังก์ชั่นการใช้งานที่ย่อขนาดจากระบบ ERP ขนาดใหญ่ในปัจจุบัน แต่สามารถใช้งานที่เพียงพอต่อความต้องการของ SMEs ขนาดเล็ก (มีข้อจำกัดในการใช้งานในระดับหนึ่ง) และระบบรายงานผู้บริหาร (BI) ที่จะสามารถช่วยธุรกิจในการวิเคราะห์และการวางแผนธุรกิจของผู้บริหารเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหารและจัดการ โดยเป็นการให้บริการผ่าน Cloud Computing ซึ่ง SMEs สามารถใช้งานซอฟต์แวร์โดยไม่ต้องติดตั้งระบบเซิร์ฟเวอร์ ...
    • type-icon

      กิจกรรมส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพ SMEs ด้วยระบบรายงานผู้บริหาร (BI) ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพ SMEs ด้วยระบบ Digital ปีงบประมาณ 2560 

      จิรพล สังข์โพธิ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ตามนโยบายของรัฐบาลได้กำหนดแนวทางการส่งเสริมอุตสาหกรรมโดยเฉพาะในการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล โดยมุ่งการวางรากฐานของเศรษฐกิจดิจิทัลให้เริ่มขับเคลื่อนได้อย่าง จริงจังซึ่งจะทำให้ทุกภาคเศรษฐกิจก้าวหน้าไปได้ทันโลกและสามารถแข่งขันในโลกสมัยใหม่ได้ ซึ่งหมายรวมถึง การผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์ดิจิทัลโดยตรงทั้งฮาร์ดแวร์ซอฟต์แวร์อุปกรณ์สื่อสารดิจิทัลอุปกรณ์โทรคมนาคม ดิจิทัลและการใช้ดิจิทัลรองรับการให้บริการของภาคธุรกิจการเงินและธุรกิจบริการอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างการ ใช้ดิจิทัลรองรับการบริหารจัดการการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและการพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรร ...
    • type-icon

      กิจกรรมส่งเสริมการเพิ่มผลิตภาพของ SMEs ด้วยระบบ Visualize ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพ SMEs ด้วยระบบเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital for SMEs) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 

      จักร ชวนอาษา (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-13)

      จากนโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมในประเทศไทยตามแนวคิดประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) ซึ่งเป็นการประสานความสามารถของเทคโนโลยีการผลิตเข้ากับเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนั้นเพื่อให้สอดรับกับประเทศไทย 4.0 อย่างเป็นรูปธรรม กระทรวงอุตสาหกรรมจึงได้กำหนด 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต ทั้งกลุ่มอุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ (First S-curve) และกลุ่มอุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมในฐานะหน่วยงานส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และขับเคลื่อนการดำเนินงานกองทุนพัฒนา SMEs ให้เข้าสู่ประเทศไทย 4.0 ...
    • type-icon

      จัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืนด้วย Water footprint ในอุตสาหกรรมอาหารเพื่อการส่งออก ปี 2558 

      ไพรัช อุศุภรัตน์; Usubharatana, Phairat (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมเป็นหัวข้อสำคัญที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับคุณภาพสินค้าและระบบการบริหารจัดการ โดยเฉพาะโลกที่อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์การค้าของ WTO สำหรับการใช้น้ำในภาคอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งมีแนวโน้มการใช้น้ำในปริมาณมาก เมื่อเทียบกับการผลิตจากอุตสาหกรรมประเภทอื่นๆ โดยการใช้น้ำอาจมาจากกิจกรรมต่างๆ อาจเป็นภาระต่อสิ่งแวดล้อมในรูปของน้ำเสียที่อุตสาหกรรมต้องทำการบำบัดให้ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดขึ้นก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ ในปัจจุบันการศึกษาเกี่ยวกับร่องรอยการใช้น้ำ หรือ วอเตอร์ฟุตพริ้นท์จากการผลิตผลิตภัณฑ์ (water footprint of product) จึงเป็นโอกาสให้เกิดก ...
    • type-icon

      จัดทำดัชนีอุตสาหกรรมระดับจังหวัด 

      พีระศักดิ์ อินทรไพบูลย์; ชินนะพงษ์ บำรุงทรัพย์; Intarapaiboon, Peerasak; Bumrungsup, Chinnaphong (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      ดัชนีอุตสาหกรรมระดับจังหวัดสามารถใช้เป็นเครื่องวัดสภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระดับจังหวัด รวมทั้งเป็นการเชื่อมโยงข้อมูลอุตสาหกรรมระดับประเทศได้ กระทรวงอุตสาหกรรมจึงได้กำหนดให้โรงงานรายงานข้อมูลการผลิตต่อสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สสอ.) ทุกเดือน เพื่อนำมาวิเคราะห์และจัดทำรายงานดัชนีอุตสาหกรรมรายเดือน ในโครงการนี้ ระบบจัดเก็บข้อมูลการผลิต และประมวลดัชนีแบบออนไลน์ ได้ถูกพัฒนาขึ้น และนำระบบนี้ไปทดสอบกับ 8 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ พิจิตร นครราชสีมา ขอนแก่น ระยอง สมุทรสาคร สุราษฎร์ธานี และสงขลา โดยดัชนีอุตสาหกรรมที่ประมวลได้จากระบบประกอบด้วย ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ...