Now showing items 20-25 of 25

    • type-icon

      วิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินงานรับฟังความเห็นต่อ (ร่าง) พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ฉบับที่..) พ.ศ. .... 

      อรรถสิทธิ์ พานแก้ว (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      รายงานฉบับนี้เป็นการรวบรวมความคิดเห็นของการทำประชาพิจารณ์(ร่าง)พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... โดยเป็นการรวบรวมข้อมูลจากการทำเวทีทั้งหมด 3 ช่องทาง ด้วยกัน คือ (1) การจัดรับฟังความเห็นผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศหรือเวที online สำหรับประชาชนทั่วไป (2) การจัดเวทีประชาพิจารณ์ (Public hearing) และ (3) การจัดเวทีปรึกษาสาธารณะ (Public consultation) ในภาพรวมของความคิดเห็น คือ รับรู้ว่าเป็นกฎหมายที่ใช้มา 15 ปี สำหรับส่วนที่เห็นด้วยมองว่า พรบ. ฉบับนี้จำเป็นต้องมีแก้ไขเพิ่มเติม เพื่อให้ประชาชนจะได้รับประโยชน์จากการบริการสาธารณสุขอย่างมีคุณภาพ ...
    • type-icon

      ศึกษาความเป็นไปได้ของการพัฒนาโครงการศูนย์การแพทย์เฉพาะทางกรมการแพทย์โดยให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ (Public Private Partnership) 

      จิตตาภรณ์ ศรีบุญจิตต์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      การศึกษาความเป็นไปได้ “โครงการเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการพัฒนาโครงการศูนย์การแพทย์เฉพาะทางกรมการแพทย์ โดยให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ (Public Private Partnership)” (โครงการฯ) นี้ได้จัดทำขึ้นตามที่กรมการแพทย์ มีความประสงค์ให้ว่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อวัตถุประสงค์ในการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งศูนย์การแพทย์เฉพาะทางกรมการแพทย์ (DMS Medical Complex) ภายใต้หลักการของการร่วมทุนภาครัฐและเอกชน ซึ่งกรมการแพทย์มีความต้องการช่วยลดความแออัด ลดระยะเวลารอคอยสำหรับผู้ป่วยในโรงพยาบาลรัฐบาลเดิม และเพิ่มการเข้าถึงบริการ สำหรับผู้ป่วยรายใหม่ ด้วยแนวคิดให้มีก ...
    • type-icon

      ศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบวิธีการสรรหากรรมการสุขภาพแห่งชาติที่มาจากกระบวนการเลือกกันเอง 

      อรรถกฤต ปัจฉิมนันท์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-26)

      การนำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้จะต้องนำไปดำเนินการ (Implement) กับผู้มีสิทธิภายใต้ระบบเลือกกันเอง ซึ่งก่อนที่จะสามารถนำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาให้ภาคท้องถิ่นใช้ในการลงคะแนนได้นั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ให้ประชาชนรับทราบเสียก่อน เช่น การสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ให้แก่ท้องถิ่น รวมไปถึงต้องมีการให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ในระดับเขตและระดับจังหวัด และควรดำเนินการประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ The use of electronic systems must ...
    • type-icon

      สังเคราะห์ข้อเสนอเพื่อเสริมสร้างการอภิบาลระบบยา 

      วุฒิสาร ตันไชย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      The Synthesis of Policy recommendations for promoting Good Pharmaceutical Governance has two objectives. First, the report analyzes the risk of Good Governance in Pharmaceutical System in Thailand and, second, proposes the policy recommendation for strengthening Good Pharmaceutical Governance in Thailand due to Pharmaceutical Governance should be developed in three targets; First, Pharmaceutical Governance must provide the medicines that have qualities and coverage for treatments; Second, Pharmaceutical Governance must spends effectively the ...
    • type-icon

      เภสัชพันธุศาสตร์ของยา 5-ฟลูออโรยูราซิลกับผลกระทบทางคลินิกในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักไทย 

      เฉลิมพร อรรถศิลป์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2022-09-27)

      ความสำคัญงานวิจัยชิ้นนี้คือการเกิดความหลากหลายทางพั นธุกรรมของยีน DPYD มีความสัมพันธ์กับการเกิดพิษจาการใช้ยา 5-ฟลูออโรยูราซิล เช่นเดียวกับการเกิดความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีน MTHFR พบว่าอาจส่งผลต่อการเกิดพิษจาการใช้ยา 5-ฟลูออโรยูราซิลในผู้ป่วยมะเร็งได้ ดังนั้นวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีน DPYD ทั้งหมด 5 สนิปส์และการเกิดความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีน MTHFR ทั้งหมด 2 สนิปส์กับการเกิดพิษทางโลหิตวิทยาจากการใช้ยา 5-ฟลูออโรยูราซิลในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักไทย ขั้นตอนการทดลอง: ...
    • type-icon

      ไบโอเซ็นเซอร์ตรวจคัดกรองโรคเก๊าท์แบบพกพาสำหรับระบบสาธารณสุขไทย 

      ชิราวุฒิ เพชรเย็น (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการเตรียมโฟมพอลิเมอร์เชิงประกอบจากพอลิแลคติกแอซิดผสมพอลิบิวทิลีนซัคซิเนตเสริมแรงด้วยเส้นใยเซลลูโลส โฟมพอลิเมอร์เชิงประกอบนี้เตรียมด้วยกระบวนการหลอมผสมด้วยเครื่องอัดรีดแบบเกลียวหนอนคู่ งานวิจัยนี้ได้ศึกษาสมบัติเชิงกายภาพ สมบัติเชิงเคมี สมบัติเชิงความร้อน และสมบัติเชิงกล จากผลการทดสอบการไหลของพอลิเมอร์ พบว่าการเติมเส้นใยเซลลูโลส พบว่าการไหลของพอลิ-เมอร์ผสมเพิ่มขึ้นจากการทดสอบสมบัติเชิงกล พบว่าการเติมเส้นใยเซลลูโลสในพอลิแลคติกแอซิดผสมพอลิ-บิวทิลีนซัคซิเนต ทำให้ค่าความทนต่อแรงดึง ค่ามอดูลัส และร้อยละการยืด ณ จุดขาดเพิ่มขึ้น ...