Now showing items 1-3 of 3

    • type-icon

      การพัฒนาสมบัติของต้นแบบแผ่นเส้นใยนาโนย่อยสลายได้ทางชีวภาพของวัสดุเสริมองค์ประกอบระดับนาโนจากการผสมพอลิแลคติกแอซิดและพอลิบิวทิลีนซัคซิเนต/นาโนซิงค์ออกไซด์ดัดแปรสำหรับหน้ากากป้องกันแบบใช้แล้วทิ้ง 

      ชิราวุฒิ เพชรเย็น (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      อิเล็กโตรสปินนิง เป็นวิธีการขึ้นรูปแผ่นของเส้นใยโดยใช้ศักย์ไฟฟ้ากำลังสูง ทำให้ได้แผ่นของเส้นใยที่มีขนาดเส้นใยเล็กระดับนาโน ส่งผลให้การนำไปใช้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้นเนื่องจากพื้นที่ผิวสัมผัสของแผ่นเส้นใยมีปริมาณมาก งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสมบัติของแผ่นเส้นใยนาโนย่อยสลายได้ทางชีวภาพ จากการผสมพอลิแลกติกแอซิดและพอลิบิวทิลีนซัคซิเนตและดัดแปรโครงสร้างด้วยนาโนซิงค์ออกไซด์หรือนาโนซิงค์ออกไซด์เจืออะลูมิเนียมอัตราส่วนแตกต่างกัน ได้แก่ร้อยละ 0.5, 1, 3 และ 5 โดยน้ำหนัก โดยทำการเตรียมแผ่นของเส้นใยด้วยวิธีอิเล็กโตร สปินนิง จากสารละลายไดคลอโรมีเทนและเอทานอล ...
    • type-icon

      การเตรียมและการทดสอบฟิล์มต้านจุลินทรีย์จากพอลิโพรพิลีน/พอลิแลคติกแอซิดฐานนาโนไททาเนียมไดออกไซด์สำหรับต้นแบบถุงระบายปัสสาวะ 

      ชิราวุฒิ เพชรเย็น (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      งานวิจัยนี้ประกอบด้วยสองส่วนซึ่งประกอบด้วยการศึกษาผลของอัตราส่วนระหว่างพอลิโพรพิลีนกับพอลิแลคติกแอซิดต่อสมบัติของฟิล์มพอลิเมอร์ผสม และการศึกษาอิทธิพลของปริมาณ นาโนไททาเนียมไดออกไซด์ที่มีต่อสมบัติของฟิล์มนาโนคอมพอสิท การเตรียมฟิล์มพอลิเมอร์ผสมกับฟิล์มนาโนคอมพอสิทถูกขึ้นรูปผ่านกระบวนการผสมแบบหลอมเหลวและการอัดรีดขึ้นรูปเป็นแผ่นฟิล์ม ในระบบพอลิเมอร์ผสมระหว่างพอลิโพรพิลีนกับพอลิแลคติกแอซิดมีการใช้พอลิโพรพิลีน กราฟต์มาเลอิคแอนไฮไดร์เป็นสารเพิ่มความเข้ากันได้เพื่อปรับปรุงความเข้ากันระหว่างพอลิโพรพิลีนกับพอลิแลคติกแอซิด เมื่อปริมาณของพอลิแลคติกแอซิดเพิ ...
    • type-icon

      ไบโอเซ็นเซอร์ตรวจคัดกรองโรคเก๊าท์แบบพกพาสำหรับระบบสาธารณสุขไทย 

      ชิราวุฒิ เพชรเย็น (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการเตรียมโฟมพอลิเมอร์เชิงประกอบจากพอลิแลคติกแอซิดผสมพอลิบิวทิลีนซัคซิเนตเสริมแรงด้วยเส้นใยเซลลูโลส โฟมพอลิเมอร์เชิงประกอบนี้เตรียมด้วยกระบวนการหลอมผสมด้วยเครื่องอัดรีดแบบเกลียวหนอนคู่ งานวิจัยนี้ได้ศึกษาสมบัติเชิงกายภาพ สมบัติเชิงเคมี สมบัติเชิงความร้อน และสมบัติเชิงกล จากผลการทดสอบการไหลของพอลิเมอร์ พบว่าการเติมเส้นใยเซลลูโลส พบว่าการไหลของพอลิ-เมอร์ผสมเพิ่มขึ้นจากการทดสอบสมบัติเชิงกล พบว่าการเติมเส้นใยเซลลูโลสในพอลิแลคติกแอซิดผสมพอลิ-บิวทิลีนซัคซิเนต ทำให้ค่าความทนต่อแรงดึง ค่ามอดูลัส และร้อยละการยืด ณ จุดขาดเพิ่มขึ้น ...