Now showing items 54-71 of 71

    • type-icon

      ทวนสอบคาร์บอนฟุตฟริ้นต์องค์กร CFO ปี 2561 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้นเกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรมท ...
    • type-icon

      ทวนสอบคารบอนฟุตพริ้นท องคกร 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผล กระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่ มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอน ฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมา ทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร เป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิ ...
    • type-icon

      บริหารจัดการความเสี่ยง ด้านอุทกภัยโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน และการรับมือกับภัยพิบัติในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา 

      อุรุยา วีสกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562)

      ตามที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับธนาคารพัฒนาเอเชีย ได้มอบหมายให้สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดำเนินการสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการเกิดอุทกภัย การจัดการความเสี่ยงด้านอุทกภัยของชุมชน และวิเคราะห์ศักยภาพของชุมชนเกี่ยวกับการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านอุทกภัย เป็นการดำเนินการในระยะที่ 1 เพื่อเป็นพื้นฐานในการกำหนดแนวทางการพัฒนาศักยภาพของชุมชนให้สามารถบริหารจัดการความเสี่ยงด้านอุทกภัยโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ให้เป็นไปอย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ สามารถลดความเสียหายที่เกิดขึ้นจากอุทกภัยได้ต่อไป สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปร ...
    • type-icon

      ผู้ทวนสอบข้อมูลคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization) or TGO has developed Carbon Footprint of Products Label since 2009 to provide consumers more alternatives in decision making and chances to participate for Greenhouse Gas Management and motivate Thai industries to develop their production process to increase productivity and competitiveness in the world market. To apply Carbon Footprint Result from the beginning phase in production process improvement and reduction of Greenhouse Gas emission, Thailand Greenhouse Gas Management ...
    • Thumbnail

      ผู้ทวนสอบข้อมูลคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ 

      หาญพล พึ่งรัศมี; Phungrassami, Harnpon (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)
    • Thumbnail

      ผู้ทวนสอบข้อมูลคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ 

      หาญพล พึ่งรัศมี; Phungrassami, Harnpon (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)
    • type-icon

      ผู้ทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร 

      หาญพล พึ่งรัศมี; Harnpon Phungrassami (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      Nowadays, Climate change and Global Warming are regarded as problems which impact on the earth and environment drastically and more and more increasingly. Global Warming is primarily a problem of too much Greenhouse gas emissions from human activities in the atmosphere. Carbon Footprint for Organization is the concept for calculating the amount of Greenhouse gases produced from human activities for the purpose of measuring direct and indirect Greenhouse gases emission. Carbon Footprint for Organization is also a measurement method of Global Warming ...
    • type-icon

      พัฒนาด้านเทคนิคคาร์บอนฟุตพรินท์ของประเทศไทย 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      จากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เป็นที่รู้จักกันดีในด้านภาวะโลกร้อน มีแนวโน้มรุนแรงขึ้นและก่อให้ผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตบนโลก โดยองค์กรสหประชาชาติได้ชี้ว่าภาวะโลกร้อนมีสาเหตุส่วนใหญ่ หรือมากกว่าร้อยละ 80 มาจากก๊าซเรือนกระจกที่เป็นผลผลิตจากกิจกรรมของมนุษย์ ทำให้นานาชาติเกิดความตื่นตัวและพยายามหาแนวทางแก้ไขปัญหา ดังเช่นการประชุมทางด้านสิ่งแวดล้อมในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นการประชุมในปี ค.ศ.1992 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (The United Nations Framework Convention on Climate Change: ...
    • type-icon

      ศึกษาการพัฒนาระบบการจัดการขยะรีไซเคิลอย่างยั่งยืนที่เหมาะสมกับประเทศไทย (ระยะที่ 1) 

      กำพล รุจิวิชชญ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2012)

      โครงการศึกษาการพัฒนาระบบการจัดการขยะรีไซเคิลอย่างยั่งยืน ที่เหมาะสมกับประเทศไทย (ระยะที่ 1) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปริมาณ องค์ประกอบของขยะ 2) ศึกษาอัตราการรีไซเคิลจำแนกตามประเภทของวัสดุรีไซเคิล (แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ/อโลหะ กล่องเครื่องดื่ม) และ3) การเสนอแนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยที่เหมาะสมกับประเทศไทย การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก และ การเก็บองค์ประกอบทางกายภาพขยะมูลฝอยในพื้นที่ ผลการศึกษาพบว่าปริมาณขยะของประเทศไทยในปี พ.ศ.2556 มีปริมาณเฉลี่ย 49,666.8 ตันต่อวัน หรือคิดเป็น 18,128,382 ตันต่อปี ...
    • type-icon

      ศึกษาบทบาทของไฮเปอร์มาร์เก็ตต่อการสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมยั่งยืน 

      สถาพร โอภาสานนท์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-03-17)

      โครงการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการ (1) สำรวจและทบทวนนโยบายการดำเนินธุรกิจที่ยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์ และสรุปแนวทางการสร้างสมดุลด้านสิ่งแวดล้อมของเทสโก้ โลตัส ในประเด็น Zero Waste และ Zero Carbon; (2) นำเสนอแนวทางการพัฒนาการจัดการโซ่อุปทานที่ยั่งยืน (Sustainable Supply Chain Management) โดยมุ่งเน้นการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสีเขียว (Green Logistics and Supply Chain Management) ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อนำไปสู่การเป็นองค์กร Zero Waste และ Zero Carbon; และ (3) ศึกษาประโยชน์เบื้องต้นที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนสังคมของเครือเจริญโภคภัณฑ์ที่ได้จาก ...
    • Thumbnail

      ศึกษาและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมของทางพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปีงบประมาณ 2556 

      วราวุธ เสือดี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)
    • type-icon

      ศึกษาและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมของทางพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปีงบประมาณ 2558 

      วราวุธ เสือดี; สรณ์ สุวรรณโชติ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      The on Environmental Monitoring Program of Express Ways in Bangkok and Vicinity in Fiscal Year 2015 was the program provided by the Expressway Authority of Thailand (EXAT). The objectives of the program were to follow up the mitigations to reduce the environmental impacts and do the environment monitoring program as proposed in the Environmental Impacts Assessment (EIA) report of the project. The program monitored the quality of the environment, air quality, noise and vibration levels, for receptors along the express ways in Bangkok and vicinity. ...
    • type-icon

      ศึกษาและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมของทางพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปีงบประมาณ 2560 

      วราวุธ เสือดี; สรณ์ สุวรรณโชติ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      โครงการศึกษาและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมของทางพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลปีงบประมาณ 2560 เป็นโครงการที่จัดขึ้นโดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ คุณภาพอากาศ ระดับเสียง และความสั่นสะเทือน ตามแนวสายทางของทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทางพิเศษฉลองรัช ทางพิเศษบูรพาวิถี ทางพิเศษสายบางนา-อาจณรงค์ และทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) ภายหลังเปิดดำเนินโครงการ ตามที่ระบุไว้ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ...
    • type-icon

      ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแหล่งมรดกโลกและแหล่งที่มีคุณค่าความโดดเด่นในระดับสากลอย่างยั่งยืน : แผนจัดการการอนุรักษ์และคุ้มครองแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช 

      โรจน์ คุณเอนก; สมบูรณ์ กีรติประยูร; วิลาวัณย์ ภมรสุวรรณ; มารุต สุขสมจิตร; จิรวัฒน์ รุ่งเลิศตระกูลชัย; ไตรเทพ วิชย์โกวิทเทน (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแหล่งมรดกโลกและแหล่งที่มีคุณค่าความโดดเด่นในระดับสากลอย่างยั่งยืน: แผนจัดการการอนุรักษ์และคุ้มครองแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำแผนจัดการการอนุรักษ์ และคุ้มครองแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมกำหนดแนวทางและมาตรการในการดูแล ตลอดจนส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในคุณค่าและความสำคัญของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่อยู่ระหว่างเตรียมการนำเสนอเป็นแหล่งมรดกโลกให้กับชุมชนและหน่วยงานโดยรอบแหล่งมรดก ผ่านกระบวนการมีส่ว ...
    • type-icon

      ส่งเสริมวิจัยด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน 

      ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ในปัจจุบันการเจ็บป่วยจากการประกอบอาชีพเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขทั่วโลก ในปี พ.ศ.2552 องค์การแรงงานระหว่างประเทศได้ประมาณการมูลค่าความสูญเสียที่เกิดจากการบาดเจ็บ จากการประกอบอาชีพไว้ที่ปีละร้อยละ 4 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของทุกประเทศทั่วโลก โดยคิดคำนวณจากความเสียหายทางตรงและทางอ้อม ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้ข้อมูลจากกองทุนเงินทดแทนระหว่างปี พ.ศ. 2554-2559 เพื่อคำนวณและประมาณการมูลค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพในประเทศไทยโดยตัวแบบจำลองที่ครอบคลุมถึงต้นทุน ความเสียหายทางเศรษฐกิจที่แรงงาน นายจ้าง ...
    • type-icon

      อนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า : การกำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่า 

      วิลาวัณย์ ภมรสุวรรณ; อนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า : การกำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่า (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      เมืองเก่าเป็นเมืองที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะแห่งสืบต่อมาแต่กาลก่อน และมีเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมท้องถิ่น หรือมีรูปแบบผสมผสานของสถาปัตยกรรมท้องถิ่น หรือมีลักษณะของรูปแบบวิวัฒนาการทางสังคมที่สืบต่อมาของยุคต่างๆ ซึ่งมีคุณค่าในทางศิลปะ สถาปัตยกรรม โบราณคดี และประวัติศาสตร์ และยังมีการใช้สอยในลักษณะเมืองที่ยังมีชีวิตอย่างต่อเนื่องจากอดีตถึงปัจจุบัน เช่น กรุงรัตนโกสินทร์ เมืองเก่าเชียงใหม่ เมืองเก่าสงขลา เมืองเก่าน่าน เป็นต้น ปัจจุบันเมืองเก่าได้ถูกความเจริญและการขยายตัวของเมืองอย่างไร้ทิศทาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินที่หลากหลายกิจกรรม ทั้งภาคราชการและเอกชน ...
    • type-icon

      อนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า : กำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่ากลุ่มที่ 2 (เมืองเก่า พะเยา เมืองเก่าพิจิตร เมืองเก่าตาก เมืองเก่านครราชสีมา เมืองเก่าสกลนคร เเละเมืองเก่าสตูล) 

      วิลาวัณย์ ภมรสุวรรณ; สมบูรณ์ กีรติประยูร; ไตรเทพ วิชย์โกวิทเทน; มารุต สุขสมจิต; จุฑาศินี ธัญประณีตกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      ปัจจุบันเมืองเก่าได้ถูกความเจริญและการขยายตัวของตัวเมืองอย่างไม่มีขอบเขตและทิศทาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินที่หลากหลายกิจกรรม ทั้งภาคราชการและเอกชน เกิดความหนาแน่นแออัดของอาคารสถานที่และการจราจร เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชน และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิทัศน์ ทำให้องค์ประกอบเมืองเก่า คุณค่าของเมือง และเอกลักษณ์ความเป็นเมืองเก่าค่อย ๆ ลดความสำคัญและถูกทำลาย รัฐบาลจึงได้กำหนดนโยบายการดำเนินงานเป็นพิเศษเฉพาะพื้นที่ เป็นระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และเมืองเก่า พ.ศ. 2546 กำหนดให้มีการกำหนดขอบเข ...
    • Thumbnail

      เสริมสร้างความเข้มแข็งในการตั้งรับและปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรอบแหล่งมรดกโลก 

      โรจน์ คุณเอนก; จิรวัฒน์ รุ่งเลิศตระกูลชัย; สมบูรณ์ กีรติประยูร; วิลาวัณย์ ภมรสุวรรณ; ไตรเทพ วิชย์โกวิทเทน; ขวัญจิรา ฉัตรพรรณรังสี; มารุต สุขสมจิตร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)