Now showing items 130-134 of 134

    • type-icon

      อนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า : การกำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่า 

      วิลาวัณย์ ภมรสุวรรณ; อนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า : การกำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่า (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      เมืองเก่าเป็นเมืองที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะแห่งสืบต่อมาแต่กาลก่อน และมีเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมท้องถิ่น หรือมีรูปแบบผสมผสานของสถาปัตยกรรมท้องถิ่น หรือมีลักษณะของรูปแบบวิวัฒนาการทางสังคมที่สืบต่อมาของยุคต่างๆ ซึ่งมีคุณค่าในทางศิลปะ สถาปัตยกรรม โบราณคดี และประวัติศาสตร์ และยังมีการใช้สอยในลักษณะเมืองที่ยังมีชีวิตอย่างต่อเนื่องจากอดีตถึงปัจจุบัน เช่น กรุงรัตนโกสินทร์ เมืองเก่าเชียงใหม่ เมืองเก่าสงขลา เมืองเก่าน่าน เป็นต้น ปัจจุบันเมืองเก่าได้ถูกความเจริญและการขยายตัวของเมืองอย่างไร้ทิศทาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินที่หลากหลายกิจกรรม ทั้งภาคราชการและเอกชน ...
    • type-icon

      อนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า : กำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่ากลุ่มที่ 2 (เมืองเก่า พะเยา เมืองเก่าพิจิตร เมืองเก่าตาก เมืองเก่านครราชสีมา เมืองเก่าสกลนคร เเละเมืองเก่าสตูล) 

      วิลาวัณย์ ภมรสุวรรณ; สมบูรณ์ กีรติประยูร; ไตรเทพ วิชย์โกวิทเทน; มารุต สุขสมจิต; จุฑาศินี ธัญประณีตกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      ปัจจุบันเมืองเก่าได้ถูกความเจริญและการขยายตัวของตัวเมืองอย่างไม่มีขอบเขตและทิศทาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินที่หลากหลายกิจกรรม ทั้งภาคราชการและเอกชน เกิดความหนาแน่นแออัดของอาคารสถานที่และการจราจร เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชน และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิทัศน์ ทำให้องค์ประกอบเมืองเก่า คุณค่าของเมือง และเอกลักษณ์ความเป็นเมืองเก่าค่อย ๆ ลดความสำคัญและถูกทำลาย รัฐบาลจึงได้กำหนดนโยบายการดำเนินงานเป็นพิเศษเฉพาะพื้นที่ เป็นระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และเมืองเก่า พ.ศ. 2546 กำหนดให้มีการกำหนดขอบเข ...
    • Thumbnail

      เสริมสร้างความเข้มแข็งในการตั้งรับและปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรอบแหล่งมรดกโลก 

      โรจน์ คุณเอนก; จิรวัฒน์ รุ่งเลิศตระกูลชัย; สมบูรณ์ กีรติประยูร; วิลาวัณย์ ภมรสุวรรณ; ไตรเทพ วิชย์โกวิทเทน; ขวัญจิรา ฉัตรพรรณรังสี; มารุต สุขสมจิตร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)
    • Thumbnail

      แผนการขับเคลื่อนการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่พิเศษเลย 

      เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-07-02)

      ตามไฟล์แนบ
    • type-icon

      ให้คำปรึกษาการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ให้แก่โรงไฟฟ้า 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-08-19)

      การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้นนับเป็นวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อมที่สำคัญ และก่อให้เกิดผลกระทบทั้งในระดับโลก ประเทศ และวิถีชีวิตของทุกคน และยังมีแนวโน้มทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งสาเหตุหลักของภาวะโลกร้อนเกิดขึ้นจากการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ อุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้าเป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีการใช้ทรัพยากรค่อนข้างมาก ทั้งปริมาณการใช้ทรัพยากร วัตถุดิบ สารเคมี และพลังงาน โดยเฉพาะเชื้อเพลิง และน้ำ ถือเป็นปัจจัยการผลิตหลักในกระบวนการผลิตพลังงานไฟฟ้า รวมถึงมลภาวะที่เกิดขึ้นจากตัววัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต มลภาวะที่เกิดจากกระบวนการผลิต การขนส่ง ...