Now showing items 108-127 of 134

    • type-icon

      บริหารจัดการความเสี่ยง ด้านอุทกภัยโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน และการรับมือกับภัยพิบัติในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา 

      อุรุยา วีสกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562)

      ตามที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับธนาคารพัฒนาเอเชีย ได้มอบหมายให้สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดำเนินการสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการเกิดอุทกภัย การจัดการความเสี่ยงด้านอุทกภัยของชุมชน และวิเคราะห์ศักยภาพของชุมชนเกี่ยวกับการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านอุทกภัย เป็นการดำเนินการในระยะที่ 1 เพื่อเป็นพื้นฐานในการกำหนดแนวทางการพัฒนาศักยภาพของชุมชนให้สามารถบริหารจัดการความเสี่ยงด้านอุทกภัยโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ให้เป็นไปอย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ สามารถลดความเสียหายที่เกิดขึ้นจากอุทกภัยได้ต่อไป สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปร ...
    • type-icon

      ประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-Efficiency) 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-20)

      การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาอุตสาหกรรมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันที่เกิดขึ้น ทุกประเทศทั่วโลกเป็นส่วนหนึ่งที่ส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การขาดแคลนน้ำ และการลดลงของทรัพยากรธรรมชาติ ดังนั้นเพื่อสร้างความสมดุลระหว่างการพัฒนาประเทศกับการดูแลกำกับและรักษาสิ่งแวดล้อมไปพร้อมกัน จึงนำแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่เรียกว่า “หลักการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-Efficiency) ของระบบผลิตภัณฑ์หรือบริการ” เพราะฉะนั้น องค์การสุรา กรมสรรพสามิต จึงต้องการศึกษาการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยใช้หลักการการประเมินประสิท ...
    • type-icon

      ประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-efficiency) ของการยางแห่งประเทศไทยประจำปีงบประมาณ 2564 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-12-22)

      จากสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมทั่วโลกในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การขาดแคลนน้ำ การลดลงของทรัพยากรธรรมชาติ และการทำลายสิ่งแวดล้อม ล้วนมีผลมาจากการเติบโตของเศรษฐกิจและการพัฒนาอุตสาหกรรม เพราะฉะนั้นจึงเกิดแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ผนวกกับการพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อการเติบโตของเศรษฐกิจ ซึ่งจำเป็นสำหรับการพัฒนาประเทศ พร้อมทั้งดูแลและรักษาสิ่งแวดล้อมไปพร้อมกัน เพื่อสร้างสมดุลระหว่าง 2 ด้านนี้ จึงเกิดเป็นหลักการการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-efficiency) ด้วยเหตุนี้ การยางแห่งประเทศไทย จึงต้องการศึกษาการพัฒนาที่ยั่งยืนโดย ...
    • type-icon

      ประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากการใช้ประโยชน์ที่ดินระดับจังหวัด ด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ 

      วาสินี วรรณศิริ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-03-06)

      โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนาระบบการติดตามการใช้ประโยชน์ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินของจังหวัดที่เข้าร่วมในโครงการพัฒนาแนวทางลดก๊าซเรือนกระจกระดับจังหวัด ด้วยเทคโนโลยีการสำรวจข้อมูลระยะไกล และจัดทำชุดข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้ประโยชน์ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจำนวน 3 ช่วงเวลา ในปี 2558 – 2559 ปี 2559 – 2560 และปี 2560-2561 โดยดำเนินการใน 4 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี สระแก้ว นครพนม และสตูล การประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณคาร์บอนสะสมของชีวมวล วิเคราะห์จากการใช้ประโยชน์ที่ดิน ...
    • type-icon

      ผู้ทวนสอบข้อมูลคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization) or TGO has developed Carbon Footprint of Products Label since 2009 to provide consumers more alternatives in decision making and chances to participate for Greenhouse Gas Management and motivate Thai industries to develop their production process to increase productivity and competitiveness in the world market. To apply Carbon Footprint Result from the beginning phase in production process improvement and reduction of Greenhouse Gas emission, Thailand Greenhouse Gas Management ...
    • Thumbnail

      ผู้ทวนสอบข้อมูลคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ 

      หาญพล พึ่งรัศมี; Phungrassami, Harnpon (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)
    • Thumbnail

      ผู้ทวนสอบข้อมูลคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ 

      หาญพล พึ่งรัศมี; Phungrassami, Harnpon (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)
    • type-icon

      ผู้ทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร 

      หาญพล พึ่งรัศมี; Harnpon Phungrassami (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      Nowadays, Climate change and Global Warming are regarded as problems which impact on the earth and environment drastically and more and more increasingly. Global Warming is primarily a problem of too much Greenhouse gas emissions from human activities in the atmosphere. Carbon Footprint for Organization is the concept for calculating the amount of Greenhouse gases produced from human activities for the purpose of measuring direct and indirect Greenhouse gases emission. Carbon Footprint for Organization is also a measurement method of Global Warming ...
    • type-icon

      พัฒนากรอบแนวคิดและองค์ประกอบสำหรับการจัดทำ Shared Climate Policy Assumptions ของประเทศ (ระยะที่ 1) 

      บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-03-06)

      -
    • type-icon

      พัฒนาด้านเทคนิคคาร์บอนฟุตพรินท์ของประเทศไทย 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      จากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เป็นที่รู้จักกันดีในด้านภาวะโลกร้อน มีแนวโน้มรุนแรงขึ้นและก่อให้ผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตบนโลก โดยองค์กรสหประชาชาติได้ชี้ว่าภาวะโลกร้อนมีสาเหตุส่วนใหญ่ หรือมากกว่าร้อยละ 80 มาจากก๊าซเรือนกระจกที่เป็นผลผลิตจากกิจกรรมของมนุษย์ ทำให้นานาชาติเกิดความตื่นตัวและพยายามหาแนวทางแก้ไขปัญหา ดังเช่นการประชุมทางด้านสิ่งแวดล้อมในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นการประชุมในปี ค.ศ.1992 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (The United Nations Framework Convention on Climate Change: ...
    • type-icon

      พัฒนาองค์ความรู้การจัดการขยะชุมชนน้ำเสีย กิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้การจัดการขยะชุมชน 

      วรุณศักดิ์ เลี่ยมแหลม (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-04)

      โครงการให้คำปรึกษาแนะนำแก่สถานประกอบการ ด้านส่งเสริมการให้ความรู้ในการบำบัดน้ำเสียจากภาคอุตสาหกรรม เป็นกิจกรรมนำร่องภายใต้โครงการพัฒนาองค์ความรู้การจัดการขยะชุมชนและน้ำเสียของจังหวัดกำแพงเพชร ที่ทางสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดกำแพงเพชร เป็นหน่วยดำเนินการตามยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดกำแพงเพชร ที่มีนโยบายในการแก้ไขปัญหาขยะชุมชนและน้ำเสียทั้งจากชุมชน ภาคการเกษตรและภาคอุตสาหกรรม เพื่อให้เป็นเมืองน่าอยู่ ปลอดภัย มีความสมดุลต่อการดำรงชีพของประชาชน โดยได้ดำเนินการกิจกรรมนี้ต่อเนื่องจากกิจกรรมการให้ความรู้แก่โรงงานทั่วไป หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป ...
    • type-icon

      ศึกษาการพัฒนาระบบการจัดการขยะรีไซเคิลอย่างยั่งยืนที่เหมาะสมกับประเทศไทย (ระยะที่ 1) 

      กำพล รุจิวิชชญ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2012)

      โครงการศึกษาการพัฒนาระบบการจัดการขยะรีไซเคิลอย่างยั่งยืน ที่เหมาะสมกับประเทศไทย (ระยะที่ 1) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปริมาณ องค์ประกอบของขยะ 2) ศึกษาอัตราการรีไซเคิลจำแนกตามประเภทของวัสดุรีไซเคิล (แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ/อโลหะ กล่องเครื่องดื่ม) และ3) การเสนอแนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยที่เหมาะสมกับประเทศไทย การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก และ การเก็บองค์ประกอบทางกายภาพขยะมูลฝอยในพื้นที่ ผลการศึกษาพบว่าปริมาณขยะของประเทศไทยในปี พ.ศ.2556 มีปริมาณเฉลี่ย 49,666.8 ตันต่อวัน หรือคิดเป็น 18,128,382 ตันต่อปี ...
    • type-icon

      ศึกษาบทบาทของไฮเปอร์มาร์เก็ตต่อการสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมยั่งยืน 

      สถาพร โอภาสานนท์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-03-17)

      โครงการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการ (1) สำรวจและทบทวนนโยบายการดำเนินธุรกิจที่ยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์ และสรุปแนวทางการสร้างสมดุลด้านสิ่งแวดล้อมของเทสโก้ โลตัส ในประเด็น Zero Waste และ Zero Carbon; (2) นำเสนอแนวทางการพัฒนาการจัดการโซ่อุปทานที่ยั่งยืน (Sustainable Supply Chain Management) โดยมุ่งเน้นการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสีเขียว (Green Logistics and Supply Chain Management) ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อนำไปสู่การเป็นองค์กร Zero Waste และ Zero Carbon; และ (3) ศึกษาประโยชน์เบื้องต้นที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนสังคมของเครือเจริญโภคภัณฑ์ที่ได้จาก ...
    • type-icon

      ศึกษาวิจัยพร้อมประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-efficiency) ของการยางแห่งประเทศไทย ตามแนวทางปฏิบัติที่ดี ISO 14045 ประจําปีงบประมาณ 2563 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-08-20)

      จากสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมทั่วโลกในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การขาดแคลนน้ำ การลดลงของทรัพยากรธรรมชาติ และการทำลายสิ่งแวดล้อม ล้วนมีผลมาจากการเติบโตของเศรษฐกิจและการพัฒนาอุตสาหกรรม เพราะฉะนั้นจึงเกิดแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ผนวกกับการพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อการเติบโตของเศรษฐกิจ ซึ่งจำเป็นสำหรับการพัฒนาประเทศ พร้อมทั้งดูแลและรักษาสิ่งแวดล้อมไปพร้อมกัน เพื่อสร้างสมดุลระหว่าง 2 ด้านนี้ จึงเกิดเป็นหลักการการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-efficiency) ด้วยเหตุนี้การยางแห่งประเทศไทย จึงต้องการศึกษาการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยใ ...
    • type-icon

      ศึกษาแนวทางการกำหนดค่าอัตราคิดลด (Discount Rate) ที่เหมาะสมสำหรับใช้ในการประเมินศักยภาพการลดก๊าซเรือนกระจกในระดับมาตรการ (ระยะที่ 3) 

      บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย (สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2022-11-10)

      ประเทศไทยได้ยื่นสัตยาบันสารเข้าร่วมเป็นภาคีความตกลงปารีส (Paris Agreement) เมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2559 รวมถึงการยื่นข้อเสนอการมีส่วนร่วมของประเทศในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (Nationally Determined Contribution หรือ NDC) โดยกําหนดเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกร้อยละ 20 – 25 จากทุกภาคส่วน (Economy-Wide) ภายในปี พ.ศ. 2573 (ค.ศ. 2030) ข้อกำหนดภายใต้ความตกลงปารีส ในข้อ 4 ได้กําหนดให้ประเทศต่าง ๆ ร่วมกันตั้งเป้าหมายที่จะมุ่งสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระดับสูงสุดของโลก (Global Peaking Emissions) โดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไป ได้ ...
    • type-icon

      ศึกษาแนวทางหรือรูปแบบที่เหมาะสมในการเก็บค่าพิจารณารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (IEE EIA และ EHIA) ตามหลักเจ้าของโครงการเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย (Cost Recovery Method) 

      นิรมล สุธรรมกิจ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-03-06)

      เนื่องด้วยแผนการปฏิรูปประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง ระบบบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เสนอให้ “เพิ่มค่าตอบแทนการพิจารณารายงาน ค่าเดินทางลงพื้นที่ศึกษา โดยเก็บเป็นเงินค่าธรรมเนียมจากเจ้าของโครงการตามหลักผู้ได้ประโยชน์เป็นผู้จ่าย (Beneficiary Pay Principle: BPP)” กองพัฒนาระบบการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) จึงได้จัดทำการศึกษานี้ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาแนวทางหรือ รูปแบบที่เหมาะสมในการเก็บค่าพิจารณารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (IEE EIA และ EHIA) ตาม ...
    • Thumbnail

      ศึกษาและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมของทางพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปีงบประมาณ 2556 

      วราวุธ เสือดี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)
    • type-icon

      ศึกษาและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมของทางพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปีงบประมาณ 2558 

      วราวุธ เสือดี; สรณ์ สุวรรณโชติ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      The on Environmental Monitoring Program of Express Ways in Bangkok and Vicinity in Fiscal Year 2015 was the program provided by the Expressway Authority of Thailand (EXAT). The objectives of the program were to follow up the mitigations to reduce the environmental impacts and do the environment monitoring program as proposed in the Environmental Impacts Assessment (EIA) report of the project. The program monitored the quality of the environment, air quality, noise and vibration levels, for receptors along the express ways in Bangkok and vicinity. ...
    • type-icon

      ศึกษาและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมของทางพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปีงบประมาณ 2560 

      วราวุธ เสือดี; สรณ์ สุวรรณโชติ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      โครงการศึกษาและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมของทางพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลปีงบประมาณ 2560 เป็นโครงการที่จัดขึ้นโดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ คุณภาพอากาศ ระดับเสียง และความสั่นสะเทือน ตามแนวสายทางของทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทางพิเศษฉลองรัช ทางพิเศษบูรพาวิถี ทางพิเศษสายบางนา-อาจณรงค์ และทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) ภายหลังเปิดดำเนินโครงการ ตามที่ระบุไว้ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ...
    • type-icon

      ศึกษาและประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-efficiency) ของการยางแห่งประเทศไทย ตามแนวทางปฏิบัติที่ดี ISO 14045 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-15)

      จากสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมทั่วโลกในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การขาดแคลนน้ำ การลดลงของทรัพยากรธรรมชาติ และการทำลายสิ่งแวดล้อม ล้วนมีผลมาจากการเติบโตของเศรษฐกิจและการพัฒนาอุตสาหกรรม เพราะฉะนั้นจึงเกิดแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ผนวกกับการพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อการเติบโตของเศรษฐกิจ ซึ่งจำเป็นสำหรับการพัฒนาประเทศ พร้อมทั้งดูแลและรักษาสิ่งแวดล้อมไปพร้อมกัน เพื่อสร้างสมดุลระหว่าง 2 ด้านนี้ จึงเกิดเป็นหลักการ การประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-efficiency) ด้วยเหตุนี้ การยางแห่งประเทศไทย จึงต้องการศึกษาการพัฒนาที่ยั่งยืนโด ...