Now showing items 1-3 of 3

    • type-icon

      การพัฒนาระบบการผลิตไบโอดีเซลแบบต่อเนื่องโดยใช้วิธีการให้ความร้อนจากไมโครเวฟ 

      ชาญณรงค์ อัศวเทศานุภาพ; Channarong Asavatesanupap (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      The of this research is to develop a continuous flow microwave-assisted heating reactor for biodiesel production. The effects of various parameters on biodiesel production via transesterification such as the type and amount of catalyst, alcohol to oil molar ratio, reaction time and reaction temperature were studied. The result shows that the reactor that was developed can produced biodiesel with maximum productivity of 760 ml/min. CH3ONa offered better catalyst performance than NaOH and KOH but it is found that the coagulation of glycerol and ...
    • type-icon

      กำลังผลิตติดตั้งสูงสุดที่เหมาะสมของโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ของประเทศไทยเมื่อพิจารณาผลกระทบด้านความถี่ 

      พรระพีพัฒน์ ภาสบุตร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-03-04)

      ตามแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558-2579 (PDP2015) กำหนดเป้าหมายการติดตั้งโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์อยู่ที่ 6,000 เมกะวัตต์ ภายในปี พ.ศ. 2579 ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 11 ของกำลังผลิตของโรงไฟฟ้าทุกประเภท แต่โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์มีความไม่แน่นอนของกำลังผลิตซึ่งส่งผลต่อเสถียรภาพของระบบไฟฟ้ากำลังโดยเฉพาะเสถียรภาพด้านความถี่ นอกจากนี้ในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการติดตั้งโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ รวมถึงพื้นที่ที่ไม่สามารถคาดการณ์ตำแหน่งของโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ก็จะส่งผลกระทบต่อการตอบสนองด้านความถี่เพิ่มขึ้น ในการศึกษานี้ได้ทำการเก็บตัวอย่างก ...
    • type-icon

      ปรับปรุงสมบัติความต้านทานการกัดกร่อนของเหล็กสเตนเลสโดยการเคลือบผิวด้วยแกรฟีนและสารผสมแกรฟีนสำหรับประยุกต์ใช้เป็นแผ่นขั้วไฟฟ้าในเซลล์เชื้อเพลิง แบตเตอรี่และตัวเก็บประจุยิ่งยวด 

      อรรฆวัชร รวมไมตรี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-03-04)

      โครงการวิจัยนี้ศึกษาการปรับปรุงสมบัติความต้านทานการกัดกร่อนและการนำไฟฟ้าของเหล็กสเตนเลสโดยการเคลือบผิวด้วยแกรฟีนและสารผสมแกรฟีนสำหรับประยุกต์ใช้เป็นแผ่นขั้วไฟฟ้า โดยการเคลือบแกรฟีนและโลหะไทเทเนียมจะใช้วิธีการเคลือบผิวด้วยไอเคมีและวิธีสปัตเตอริ่ง ตามลำดับ ซึ่งผลการวิจัยพบว่าการเคลือบผิวด้วยแกรฟีนคุณภาพสูงสามารถช่วยปรับปรุงความต้านทานการกัดกร่อนและการนำไฟฟ้าของเหล็กสเตนเลสได้อย่างมาก โดยพบว่าเหล็กสเตนเลสที่ผ่านการเคลือบผิวด้วยแกรฟีนจะมีความต้านทานการกัดกร่อนและการนำไฟฟ้าเพิ่มขึ้นสูงสุด 94.92% และ 12.36% ตามลำดับ ยิ่งไปกว่านั้นการเคลือบแกรฟีน ยัง ...