Now showing items 1-2 of 2

    • type-icon

      พัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการศึกษา (GIS) 

      จินดา แซ่จึง (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-07-22)

      สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มีโรงเรียนที่อยู่ภายใต้การดูแลทั่วประเทศจำนวนมาก จึงมีการนำเทคนิคแผนที่การศึกษา (School Mapping) เชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) มาใช้บริหารจัดการการศึกษาของโรงเรียน ปัจจุบันทางหน่วยงานได้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ซึ่งมีความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงคุณภาพ และแสดงผลแผนที่ เพื่อให้ผู้บริหารสามารถมองเห็นภาพรวมจากข้อมูลการวิเคราะห์ต่างๆ อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเพื่อใช้เป็นระบบกลางในการวางแผน หรือวางกลยุทธ์การบริหารต่างๆ โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็กที่มีสังกัดภายใต้การดูแลของ ...
    • type-icon

      วิเคราะห์ ปรับปรุงระบบกำหนดแผนที่ที่ตั้งสถานศึกษา (School Mapping) เพื่อเสริมสร้างโอกาส คุณภาพและความเท่าเทียมทางการศึกษา 

      จินดา แซ่จึง (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-07-22)

      สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มีความต้องการจัดทำระบบแผนที่โรงเรียน (school mapping) ขึ้นทั่วประเทศ ตามแนวคิดที่จะจับกลุ่มและพัฒนาโรงเรียนประถมที่มีขนาดเล็ก (โรงเรียนที่มีจำนวนนักเรียนรวมกันทั้งสิ้นไม่เกิน 60 คน) ภายใต้สังกัดของ สพฐ. ให้มีศักยภาพในการให้บริการและเตรียมความพร้อมความเหมาะสมด้านการศึกษาในแต่ละพื้นที่ เพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายในการให้การศึกษากับนักเรียนที่อยู่ในเกณฑ์ต้องได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียม งานวิจัยชิ้นนี้ได้รับทุนจาก สพฐ. ให้ออกแบบระบบกำหนดแผนที่ที่ตั้งสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างโอกาส คุณภาพ และความเท่าเทียมทางการศึกษา ...