Now showing items 1-3 of 3

    • type-icon

      ตรวจสอบแรงดึงของลวดอัดแรงที่อยู่ภายในคานรูปกล่องของโครงสร้างทางพิเศษที่ได้รับความเสียหายจากเหตุเพลิงไหม้บริเวณเสาตอม่อที่ 11/22 ทางพิเศษบูรพาวิถี กม. 11+800 

      นคร ภู่วโรดม (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ผลการตรวจวัดแรงดึงในลวดอัดแรงของคานสะพานรูปกล่องของทางพิเศษบูรพาวิถี เสาตอม่อที่ 11/22 วัตถุประสงค์ของการดำเนินการคือเพื่อตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของค่าแรงดึงในลวดอัดแรงของคานสะพานที่อาจได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์เพลิงไหม้เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2560 วิธีที่ใช้ในการหาค่าแรงดึงใช้หลักการตรวจวัดค่าความถี่ธรรมชาติของลวดอัดแรง และพิจารณาค่าความแข็งเชิงดัดของลวดอัดแรงในการหาแรงดึงและปรับแก้ค่าแรงดึง โดยการประยุกต์ใช้สมการจากทฤษฎีสตริง (เส้นลวดตึง) ผลการศึกษาพบว่า มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยระหว่างแรงดึงของลวดอัดแรงในคานสะพานช่วงที่ถูกเพลิงไหม้ เมื่อเปรียบเที ...
    • Thumbnail

      โครงการตรวจสอบและประเมินโครงสร้างส่วนบนทางพิเศษบูรพาวิถี : รายงานฉบับสมบูรณ์ 

      สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2009)

      ทางพิเศษบูรพาวิถีเริ่มเปิดใช้งานในปี พ.ศ. 2543 เมื่อครบ 10 ปีจึงได้มีการจัดทำโครงการตรวจสอบและประเมินโครงสร้างส่วนบนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสภาพปัจจุบันด้านความมั่นคงแข็งแรง สำรวจความเสียหายจำแนกตามรูปแบบและระดับความรุนแรง การเสื่อมสภาพ สภาพโดยรวมเชิงกายภาพของโครงสร้างในการใช้งาน นำผลการประเมินดังกล่าวมาจัดทำแผนการตรวจสอบต่อเนื่อง เสนอแนะแนวทางและวิธีการซ่อมบำรุงที่เหมาะสม จัดทำฐานข้อมูล GIS Database system เพื่อการปฏิบัติงานบำรุงรักษา
    • Thumbnail

      โครงการตรวจสอบและศึกษาหาวัสดุที่เหมาะสมและเสนอวิธีการเปลี่ยนฐานรอง (Bearing pad) ของทางพิเศษเฉลิมมหานคร : รายงานฉบับสมบูรณ์ 

      สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2007)

      Chaloem Mahanakorn Expressway has been constructed since 1981 and the traffic volume of the expressway continuously increases every year. For bearing the heavy load, maintenance schedule is indispensable task to operate. The study was undertaken to examine wear and tear of bearing pad which is the most important construction structure, to search for certain appropriate material replacing the bearing pad and to propose the preliminary and final design of a model for changing the bearing pad. Suggestion on preventive maintenance is also shown.